Page 419 - thaipaat_Stou_2563
P. 419
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ผลกำรวิจัย
1. ผลการวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยภายในองค์การ ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ
ิ
ของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยเมื่อพจารณาค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอย (Beta) พบว่าด้าน
บรรยากาศการท างาน (Beta =0.251) ด้านเทคโนโลยี (Beta =0.178) ด้านโครงสร้างองค์การและระบบ
ิ
การบริหาร (Beta =0.170) และด้านช่องทางและวิธีการสื่อสาร (Beta =0.133) ในทิศทางบวก มีอทธิพล
ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนระดับปัจจัย
ภายในองค์การ ด้านภาวะผู้น าของผู้บริหาร (Beta = 0.060) ด้านยุทธศาสตร์ (Beta = 0.072) และด้าน
วัฒนธรรมองค์การ (Beta =0.093) ไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ อย่างมีนัยส าคัญทาง
สถิติ
2. ผลการวิเคราะห์ พบว่า ส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มีประสิทธิภาพการสื่อสารภายใน
องค์การอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22
3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมต่อ
ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ จ าแนกตามเพศ พบว่า ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
4. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมต่อ
ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ จ าแนกตามช่วงอายุ พบว่า กลุ่มช่วงอายุ Baby Boomer
Generation
มีระดับประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ มากกว่ากลุ่มช่วงอายุ Generation X และมากกว่ากลุ่มกลุ่ม
ช่างอายุ Generation y ส่วนกลุ่มช่วงอายุคู่อื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน
อภิปรำยผล
จากข้อค้นพบของการศึกษานี้ มีประเด็นที่สามารถน ามาอภิปรายได้ดังนี้
1. ประเด็นปัจจัยในองค์การ ด้านบรรยากาศการท างาน ด้านเทคโนโลยี ด้านโครงสร้างองค์การและ
ระบบการบริหาร และช่องทางและวิธีการสื่อสาร ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ และเมื่อ
พิจารณาเป็นรายทิศทางมีข้อค้นพบที่น่าสนใจดังนี้
1.1 ปัจจัยด้านบรรยากาศการท างาน ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การมากที่สุด
(Beta = 0.251) แต่กลับมีผลความคิดเห็นในประเด็นนี้อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.07 เท่านั้น ซึ่ง
เป็นค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุดใน 7 ปัจจัยภายในองค์การ โดยจากค าถามในแบบสอบถามนั้นพบว่า กลุ่มตัวอย่างมี
ความคิดเห็นว่า องค์การของท่านมีมุมพกผ่อนให้ท่านได้ผ่อนคลายตามระยะเวลาที่เหมาะสม อยู่ในระดับมาก
ั
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.04 และบรรยากาศการท างานในองค์การของท่านมีความผ่อนคลาย ไม่ได้มีความตึงเครียด
ตลอดเวลา สามารถเปิดเพลงคลอเบา ๆ ระหว่างการท างานได้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.11 ซึ่งเป็น
ค่าเฉลี่ ย ที่น้ อย ที่สุ ดของแบบ สอบถาม ซึ่งส อดคล้ องกับ ข้อส รุ ป ของเวณิกา ชัย ยิ้ม
(https://sites.google.com/site/darunsitpattanarangsan/sara-na-ru/585) ที่ว่า การสื่อสารในองค์การ
ระบบย่อย (Micro Approach) ต้องสร้างบรรยากาศในการท างาน พดคุยปรึกษากันอย่างเสรี การเปิดเพลง
ุ
ื่
เบา ๆ ต้องร่วมสร้างบรรยากาศของความไว้วางใจกัน เพอให้เกิดการสื่อสารอย่างกว้างขวางและเปิดเผย และ
สอดคล้องกับงานวิจัยของเบญจวรรณ แจ่มจ ารูญ (2557) เรื่อง ปัจจัยบรรยากาศในการสื่อสารภายใน
องค์การ กระบวนการในการสื่อสาร และสื่อสังคมออนไลน์ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสื่อสารภายในองค์การ
ของบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ที่พบว่าบรรยากาศในการสื่อสารภายในองค์การ ด้านการมีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสื่อสารภายในองค์การของพนักงานบริษัทเอกชนในเขต
417