Page 420 - thaipaat_Stou_2563
P. 420
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
กรุงเทพมหานคร มากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการสื่อสารด้านช่องทางการสื่อสาร บรรยากาศในการ
ั
สื่อสารภายในองค์การด้านการสนับสนุนซึ่งกนและกัน กระบวนการสื่อสารด้านผู้ส่งสาร และบรรยากาศในการ
ิ่
สื่อสารภายใน องค์การด้านการเปิดเผยการสื่อสารจากบนลงล่าง ตามล าดับ รวมทั้งมีข้อเสนอแนะว่าควรเพม
พื้นที่ co working space ส าหรับช่วยกันท างานแลกเปลี่ยนเทคนิค พูดคุยสร้างความสัมพันธ์ จึงเป็นข้อค้นพบ
ที่น่าสนใจ และควรน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขเพื่อเป็นประโยชน์ต่อองค์การต่อไป
ั
1.2 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การมากเป็นอนดับ 2
(Beta = 0.178) รองลงมาจากปัจจัยด้านบรรยากาศการท างาน แต่กลับมีผลความคิดเห็นในประเด็นนี้อยู่ใน
ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.24 เท่านั้น ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยที่น้อยเป็นอนดับที่ 6 จาก 7 ปัจจัยภายในองค์การ
ั
โดยจากค าถามจากแบบสอบถามในประเด็นเทคโนโลยีพบว่า กลุ่มตัวอย่างแสดงความคิดเห็นในค าถามที่ว่า
เทคโนโลยีขององค์การมีความทันสมัยและมีการน ามาใช้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.19 ซึ่งสอดคล้อง
กับข้อสรุปของพริยา ศิริวรรณ (2559, น. 42) ว่า การใช้เครื่องมือเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการน า
ิ
เส้นทางการสื่อสารในองค์การ และ หลักการสื่อสารในองค์การมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับองค์การ จะท าให้เกิด
ื่
ิ่
การสื่อสารภายในองค์การมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวทางการพฒนาเพอการเพมช่องทางการ สื่อสารภายใน
ั
องค์การนั้น คณะฯ เล็งเห็นถึงการใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นเรื่องที่มีความทัน สมัยและเป็น
ช่องทางการสื่อสารที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลาโดยจะมีการพฒนาเทคโนโลยีในรูปแบบ Mobile
ั
ื่
application ซึ่งจะใช้ส าหรับบุคลากรภายในของคณะฯ เพอตอบสนองความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในอนาคตอนใกล้ รวมทั้งมีข้อเสนอแนะว่าควรมีระบบกลางในการแจ้งข้อมูลข่าวสาร เช่น
ั
ื่
หนังสือเวียนเพอลดการเวียนด้วยกระดาษและสะดวกในการรับข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นข้อค้นพบ
ที่น่าสนใจ และควรน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขเพื่อเป็นประโยชน์ต่อองค์การต่อไป
1.3 ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์การและระบบการบริหาร ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายใน
องค์การ เป็นอนดับ 3 (Beta = 0.170) มีผลความคิดเห็นในประเด็นนี้อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
ั
3.26 ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยอนดับที่ 5 จาก 7 ปัจจัยภายในองค์การ โดยค าถามจากแบบสอบถามในประเด็นด้าน
ั
โครงสร้างองค์การและระบบการบริหาร พบว่า กลุ่มตัวอย่างแสดงความคิดเห็นในค าถามที่ว่า องค์การที่มีสาย
การบังคับบัญชาหลายระดับ ผ่านการกลั่นกรองหลายขั้น มีกฎระเบียบที่แน่นอน เป็นผลดีต่อการด าเนินงาน
อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.23 เท่านั้น ซึ่งสอดคล้องกับข้อสรุป ของ รศ.นิฤมล มณีสว่างวงศ์ (2554,
น.122) ว่า โครงสร้างขององค์การ หากสายการบังคับบัญชาในองค์การมีหลายระดับมากเกินเท่าใดอยิ่งเกิด
ึ้
ปัญหามากขึ้นเท่านั้น เพราะต้องผ่านบุคคลหลายคน การบิดเบือนในการสื่อสารก็ยิ่งมีมากขน จึงเป็นข้อค้นพบ
ที่น่าสนใจ และควรน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขเพื่อเป็นประโยชน์ต่อองค์การต่อไป
1.4 ปัจจัยด้านช่องทางและวิธีการสื่อสาร ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ เป็น
อนดับสุดท้าย (Beta = 0.133) ซึ่งผลความคิดเห็นในประเด็นนี้อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.23
ั
ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยอนดับที่ 3 จาก 7 ปัจจัยภายในองค์การ โดยค าถามจากแบบสอบถามในประเด็นด้านช่องทาง
ั
และวิธีการสื่อสาร พบว่า ส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มีการสื่อสารภายในองค์การแบบสองทาง คือ การ
ู
ู
สื่อสารที่มีการส่งข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร เช่น การพบปะพดคุยกัน การประชุม การพด
ิ
โทรศัพท์ การออกค าสั่งหรือมอบหมายงานโดยฝ่ายรับมีโอกาสแสดงความคดเห็น เป็นต้น อยู่ในระดับมากที่สุด
ี
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.32 และองค์การของท่านมีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพยงพอต่อความต้องการ อยู่
ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30 แต่มีข้อเสนอแนะให้เพมช่องทางการสื่อสาร ได้แก่ Intranet
ิ่
Outlook, Line Official, Youtube Channel, เสียงตามสาย และเดินประชาสัมพนธ์ ตามล าดับ และ
ั
สอดคล้องกับข้อสรุปของจันทิรา มังกรศักดิ์สิทธิ์ (2556, น.70) พบว่าพนักงานโรงพยาบาลนนทเวช มีความ
418