Page 421 - thaipaat_Stou_2563
P. 421
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
คิดเห็นต่อทิศทางการสื่อสารทั้ง 4 คือ ) ทิศทางการสื่อสารจากบนลงล่าง 2) ทิศทาง
่
การสื่อสารจากล่างขึ้นบน 3) ทิศทางการสื่อสารในแนวราบ 4) ทิศทางการสื่อสารข้ามสายงาน มีคาเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก ทั้ง 4 ทิศทาง แสดงให้เห็นว่าการสื่อสารภายในองค์การของโรงพยาบาลนนทเวช มีความ
หลากหลายและสมดุลกันในทุกทิศทาง ซึ่งเหมาะสมหรับองค์การขนาดใหญ่ที่มีความจ าเป็นต้องเปิดทิศทางให้
ื่
พนักงานสื่อสารกันได้รอบด้าน จึงเป็นข้อค้นพบที่น่าสนใจ และควรน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขเพอเป็นประโยชน์
ต่อองค์การต่อไป
1.5 ด้านระดับประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ พบว่า ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ความคิดเห็นของบุคลากรของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ
จ าแนกตามช่วงอายุ พบว่า กลุ่มช่วงอายุ Baby Boomer Generation (อายุ 56 ปี ขึ้นไป) ซึ่งมีเป็นจ านวน
ี
เพยงร้อยละ 7.9 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด มีระดับประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ มากกว่า
กลุ่มช่วงอายุ Generation X (อายุตั้งแต่ 44 – 55 ปี) และมากกว่ากลุ่มกลุ่มช่างอายุ Generation y (อายุ
ตั้งแต่ 23-40 ปี) ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งมีจ านวนร้อยละ 25.1 และ ร้อยละ 59.9
ตามล าดับ จึงเป็นข้อค้นพบที่น่าสนใจ และควรน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขเพื่อเป็นประโยชน์ต่อองค์การต่อไป
บทสรุป : Conclusion
ผลการศึกษาพบว่า ส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มีประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การอยู่ในระดับ
ดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 ปัจจัยภายในองค์การ อันได้แก่ ด้านบรรยากาศการท างาน ด้านเทคโนโลยี ด้านโครงสร้าง
องค์การและระบบการบริหาร และด้านช่องทางและวิธีการสื่อสาร มีอทธิพลส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสาร
ิ
ภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และกลุ่ม Baby
Boomer Generation (อายุ 56 ปี ขึ้นไป) มีระดับประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ มากกว่ากลุ่มช่วงอายุ
Generation X (อายุ 41 – 55 ปี) และมากกว่ากลุ่มช่วงอายุ Generation y (อายุ 23 – 40 ปี) จากการวิจัยครั้ง
นี้ ผู้วิจัยเห็นควรให้มีการปรับปรุงแก้ไข ด้วยการเพิ่มพื้นที่ co working space เพิ่มหรือพัฒนาระบบเทคโนโลยี
้
สารสนเทศให้มีความทันสมัย พร้อมใช้งานมากยิ่งขึ้น ให้ผู้บริหารระดับสูงบันทึกขอสั่งการเป็นวิดีโอแจกจ่ายให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาเพอเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน เพมการสื่อสารผ่านช่องทาง Line Official พฒนา Youtube
ิ่
ั
ื่
ิ่
Channel และเพมทักษะในการสื่อสารให้กับกลุ่มช่วงอายุ Generation X และกลุ่มช่วงอายุ Generation y
(อายุตั้งแต่ 23 – 55 ปี) ให้มากขึ้น
กิตติกรรมประกำศ: Acknowledgement
การวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวง
ยุติธรรม” ส าเร็จลุล่วงได้ด้วยดี โดยได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากหลายๆ ท่าน โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง รองศาสตราจารย์ ดร.ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี อาจารย์ที่ปรึกษาซึ่งได้ให้ค าแนะน าในการเลือกเรื่องที่จะ
ท าการศึกษา โดยกระตุ้นให้ผู้วิจัยศึกษาความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคนิค และให้ข้อคิดที่เป็นประโยชน์ในการท า
วิจัยภายใต้ข้อจ ากัดเรื่องเวลาและการท าภารกิจของหน่วยงานมิให้เกิดความบกพร่อง รวมทั้งบุคลากรของ
ส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมทุกท่านที่สละเวลาในการตอบแบบสอบถาม ท าให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนางานด้านการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และขอระลึกถึงความกรุณา
ของคณาจารย์ทุกท่านผู้ชี้แนะแนวทางการศึกษาที่ผ่านมา รวมทั้งผู้ให้ค าแนะน าในการประมวลผลข้อมูลด้วย
ระบบคอมพิวเตอร์ และการทดสอบต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านที่มิได้กล่าวนามมา ณ
ที่นี้ ซึ่งมีส่วนช่วยและเป็นก าลังใจและให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี ท าให้ผู้เขียนได้มีโอกาสน าเสนอผลงานใน
419