Page 416 - thaipaat_Stou_2563
P. 416

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                     ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภำพกำรสื่อสำรภำยในองค์กำรของส ำนักงำนปลัดกระทรวงยุติธรรม


                                                  นางสาวมานิตา วนิชาชีวะ
                                                 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
                                          Email address: manita.wani@gmail.com


                                                         บทคัดย่อ

                       การวิจัย เรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวง
                                           ื่
                                                       ิ
               ยุติธรรม ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาความคดเห็นของบุคลากรของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมที่มีต่อ
               ปัจจัยภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม” ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อประสิทธิภาพ
               การสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อ
               ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมจ าแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดย
               ท าการศึกษาเฉพาะปัจจัยภายในองค์การ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จ านวน

               227 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม และได้รับการตอบแบบสอบถามกลับคืนมาร้อยละ 100
               สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทดสอบ t-test, F-test (ANOVA) และMultiple
               Regression

                       ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 53.3 ช่วงอายุ 23 – 40 ปี ร้อย
               ละ 59.9 ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ ร้อยละ 41.9 และท างานด้านบริหารงานทั่วไป ร้อยละ 19.8 และพบว่า
               ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมอยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22
               ปัจจัยภายในองค์การ ได้แก่ ด้านบรรยากาศการท างาน ด้านเทคโนโลยี ด้านโครงสร้างองค์การและระบบการบริหาร
               และด้านช่องทางและวิธีการสื่อสาร ส่งผลต่อประสิทธิภาพ การสื่อสารภายในองค์การอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

               ระดับ 0.05 และกลุ่ม Baby Boomer Generation (อายุ 56 ปี ขึ้นไป) มีประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ
               ได้ดีกว่ากลุ่ม Generation X (อายุ 41 – 55 ปี) และกลุ่ม Generation Y (อายุ 23 – 40 ปี)
                      ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ ควรปรับปรุงการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

               ด้วยการเพิ่มพื้นที่ co- working space และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัยพร้อมใช้งานมากขึ้น ผู้บริหาร
               ระดับสูงควรบันทึกข้อสั่งการเป็นวิดีโอเพอสื่อสารถึงบุคลากรในทิศทางเดียวกัน ควรเพมการสื่อสารผ่านช่องทาง Line
                                                                                  ิ่
                                               ื่
               Official ควรพัฒนา Youtube Channel และเพิ่มทักษะการสื่อสารให้กับกลุ่ม Generation X และกลุ่ม Generation y
               (อายุตั้งแต่ 23 – 55 ปี) มากขึ้น









               ค ำส ำคัญ  ปัจจัยภายในองค์การ, การสื่อสารภายในองค์การ, ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การ

               รศ.ดร.ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี อาจารย์ที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ Email : sirapatsorn.won@dpu.ac.th

                                                                                                     414
   411   412   413   414   415   416   417   418   419   420   421