Page 417 - thaipaat_Stou_2563
P. 417

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                   บทน ำ : Introduction
                                                                                                     ั
                        ส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม มีภารกิจในการพฒนา
               ยุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของกระทรวงเป็นแผนปฏิบัติการ จัดสรรทรัพยากร และบริหารราชการประจ า
                                                                     ั
               ทั่วไปของกระทรวงฯ ดูแลงานประชาสัมพนธ์ การต่างประเทศ พฒนาปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง  เผยแพร่
                                                  ั
               กิจกรรม ตลอดจนการข่าวของกระทรวง เพอให้บรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ ตามภารกิจของกระทรวง
                                                    ื่
               แบ่งส่วนราชการเป็น 11 หน่วยงาน ได้แก่ กองกลาง กองกฎหมาย กองการต่างประเทศ กองบริหารการคลัง
               กองบริหารทรัพยากรบุคคล กองพัฒนานวัตกรรมการยุติธรรม กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กองออกแบบและ
                                                                  ั
               ก่อสร้าง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถาบันพฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม และส านักงาน
               กองทุนยุติธรรม เนื่องจากหน่วยงานในส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มีจ านวนมากและมีหน้าที่ซึ่งมีความ
                                                                                             ื่
               รับผิดชอบหลากหลาย การสื่อสารภายในองค์การที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง เพอมิให้เกิดความ
               เข้าใจที่ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ
               ส านักงานปลัดฯได้ล่าช้าไม่ทันต่อสถานการณ์ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาว่าปัจจัยภายในองค์การใดที่ส่งผลต่อ
               ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์การของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม


                                                เนื้อหำของบทควำม : Body
                        ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองคการมีความส าคัญและเป็นตัวชี้วัดที่ส าคัญในการที่จะชี้ให้เห็นว่า
               องค์การนั้นมีประสิทธิผลหรือประสบความส าเร็จในการด าเนินงานหรือไม่ เพยงใด เนื่องจากการสื่อสารภายใน
                                                                              ี
               องคการเป็นปจจัยส าคัญและจ าเป็นส าหรับผู้บริหารในการใช้เป็นเครื่องมือสร้างและประสานความเข้าใจร่วมกัน
               ของทุกฝ่ายในองค์การทั้งนโยบาย เป้าหมาย แผนงาน และการด าเนินงานด้านต่าง ๆ ไปในทิศทางเดียวกันเพื่อ
               ความส าเร็จในการด าเนินงานขององค์การ
                        สุพานี สฤษฎวานิช (2549 : 338) กล่าวว่า ความส าคัญของการสื่อสารภายในองคการสมัยใหม่ว่า
               การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะช่วยสรางทีมงานที่มีประสิทธิภาพใหเกิดขึ้น และสร้างความเขาใจตลอดจน

               ความสัมพันธ์ อันดีระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายพนักงานท าใหเกิดการแรงงานสัมพนธที่ดี ช่วยใหวัฒนธรรมองคการ
                                                                                ั
               แข็งแกรง ตลอดจนสามารถสร้างองคการใหเป็นองคการแหงการเรียนรู และยังเป็นเครื่องมือส าคัญที่จะช่วยท าให
               การบริหารการเปลี่ยนแปลงประสบความส าเร็จได้ด้วย

                        โครงสร้างและหน้าที่ขององค์การก็เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยปรับปรุงการด าเนินงานขององค์การได้ดี
               โดยสามารถลดความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น ช่วยลดความคลุมเครือ ท าให้มีความชัดเจนในการบังคับบัญชา มี
               ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อปัญหา และการไหลของข่าวสารภายในองค์การอย่างชัดเจน สายการบังคับ
               บัญชา (Chain of Command) ท าให้ไหลของข่าวสารและอานาจการบังคับบัญชาภายในองค์การมีความ

               ชัดเจน  การประสานงานและการบูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ จะบรรลุเป้าหมายได้ง่ายขึ้นตามสายของการบังคับ
               บัญชาดังกล่าว นอกจากมิติ ข้างต้นแล้ว องค์การยังมีความแตกต่างกันในมิติเชิงวัฒนธรรม ด้วยเหตุที่
               วัฒนธรรมองค์การ เป็นผลรวมของค่านิยมร่วม สัญลักษณ์ ความหมาย ความเชื่อ สมมติฐานและความคาดหวัง
                                                                                         ้
               ต่าง ๆ ซึ่งหล่อหลอมคนที่ท างานไว้ด้วยกัน (Siramesh, Grunig & Buffington, 1992.อางถึงใน Lattimore
               et. al, 2012: 214) นอกจากนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ/รุ่นคน (Age/Generation) ระดับต าแหน่ง
               และลักษณะงานของบุคลากรก็มีความเกี่ยวข้องกับการสื่อสารที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานในองค์การอีกด้วย
                        ผู้วิจัยได้ก าหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ประกอบด้วยตัวแปรอิสระ 2 กลุ่ม คือ ปัจจัยส่วนบุคคล และ
               ปัจจัยภายในองค์การ ส่วนตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิภาพของการสื่อสารภายในองค์การ ดังภาพที่ 1



                                                                                                     415
   412   413   414   415   416   417   418   419   420   421   422