Page 41 - thaipaat_Stou_2563
P. 41
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ประเด็นทางวิชาการก็คือ โครงสร้างขององค์การ จะเป็นความร่วมมือระหว่างจีนกับรัสเซียทาง
การทหารและความมั่นคง เพื่อจะถาวงดุลกับตะวันตก โดยเน้นไปที่สหรัฐอเมริการเป็นส าคัญ
ื
บทบำทขององค์กำรควำมร่วมมอเซี่ยงไฮ้
้
องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮนี้ มีการเติบโตขึ้นทั้งในเชิงกว้างและในเชิงลึก ในเชิงกว้าง คือ การที่
ั
องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ ได้แสวงหาพนธมิตรเพอเติมในรูปของประเทศผู้สังเกตการณ์ในองค์การความ
้
ื่
ร่วมมือเซี่ยงไฮ้ และประเทศคู่เจรจา
้
ส่วนการขยายในเชิงลึกขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ คือ การขยายตัวด้านการกิจขององค์การ
ออกไป จากเดิมที่เป็นการแก้ปัญหาข้อพพาทด้านพรมแดนของประเทศสมาชิกร่วมกัน การแก้ปัญหากลุ่มหัว
ิ
รุนแรง กลุ่มแบ่งแยกดินแดน กลุ่มก่อการร้ายสากล ตลอดจนขบวนการค้ายาเสพติดข้ามชาติ ไปสู่ความ
ื
ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ และความร่วมมอด้านความมั่นคง กระทั่งมีการซ้อมรบร่วมกันของประเทศสมาชิก
องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮภายใต้รหัส “ภารกิจเพอสันติภาพ” (Peace Mission) จนกระทั่งการซ้อมรบ
ื่
้
ทางทะเลร่วมกันภายใต้กรอบองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ของจีนและรัสเซีย
ิ
ส าหรับการต่อต้านการคุกคามจากชาติตะวันตกนั้น หากพจารณาจากประวัติศาสตร์นับตั้งแต่ยุค
ั
สงครามเย็นนั้น ชาติตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกามีปฏิสัมพนธ์กับจีนและรัสเซียทั้งในฐานะที่เป็นมิตร และ
ในฐานะที่เป็นภัยคุกคาม สลับไปมาตามแต่ผลประโยชน์ของชาติจะเป็นตัวก าหนด แต่อย่างไรก็ตาม แม้จะสิ้น
ยุคสงครามเย็นไปแล้ว สหรัฐอเมริกาก็ยังหวาดระแวงทั้งจีนและรัสเซีย พร้อมกับความพยายามในการสร้าง
แนวปิดล้อมจีนและรัสเซียมาโดยตลอด ทางฝ่ายของจีนและรัสเซียเองก็เช่นเดียวกัน ในยุคสงครามเย็น
ั
ความสัมพนธ์ระหว่างกันอาจจะเปลี่ยนกลับไปมาระหว่างการเป็นมิตรและการเป็นศัตรู แต่เมื่อสิ้นสุดสงคราม
เย็นแล้ว และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อมาถึงยุคปัจจุบันนี้ ทั้งจีนและรัสเซียต่างก็ตระหนักดีว่าการเป็นมิตรและ
การร่วมมือกันเป็นหนทางที่ดีกว่า เพราะอย่างไรเสียทั้งสองประเทศก็ล้วนถูกปิดล้อมและกดดันจากชาติ
ตะวันตกที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้น าเช่นเดียวกัน กระบวนการคุกคามและกดดันจากชาติตะวันตกนั้น ท าให้จีน
ุ
และรัสเซียต้องด าเนินการการตอบโต้ต่อการคกคามนั้น
สรุป : บทบำทขององค์กำรควำมร่วมมือเซี่ยงไฮ้
ท าให้ทั้งจีนและรัสเซียได้มีโอกาสกระชับความร่วมมือในการตอบโต้ภัยคุกคามดังกล่าวได้มากขึ้น
รวมทั้งมีเวทีระหว่างประเทศในการแสดงท่าทีของตนต่อการด าเนินการของชาติตะวันตกด้วย
้
นอกจากนี้ การที่องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮมีประเทศในภูมิภาคเอเชียกลางเป็นสมาชิกและมี
แนวโน้มจะขยายประเทศสมาชิกในภูมิภาคนี้ออกไปอก ก็เป็นการกดดันกลับทางฝ่ายสหรัฐอเมริกาที่ได้ส่ง
ี
ั
ก าลังทหารเข้ามาในเอเซียกลางนับตั้งแต่มีการท าสงครามกับกลุ่มกอการร้ายในอฟกานิสถาน
่
39