Page 97 - thaipaat_Stou_2563
P. 97

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               assessment forms, i.e. Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT), External Integrity

               and Transparency Assessment (EIT) and Open Data Integrity and Transparency Assessment
               (OIT). There are 145 public sector agencies participating in the assessment.

                       The overall results of the assessment of morality and transparency in operations of

               government agencies in Chiang Rai province show that the average scores of all departments
               are 74.29 percent. There are 41 government agencies (28.28 percent) that passed the

               evaluation criteria (with scores from 85 points or more) and 104 agencies (71.72 percent)
               that  did  not  pass  the  evaluation  criteria.  Policy  recommendations  on  prevention  and

               suppression of corruption are that agencies must have a plan for preventive measures and
               regular reporting of the fraud investigation. Suggestions at operational  level are that the

               agencies should disseminate information to the publics via information technology systems

               so  that  people  have  knowledge  and  understanding  about  services  of  the  agencies.  The
               agencies should also strengthen the corporate culture of the staff to have an attitude, values,

               and honest work.












               Keyword :  assessment, integrity, transparency, public sectors
                                                          บทน ำ

                       ส านักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ส านักงาน ป.ป.ช.) โดยส านัก

               ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสได้ก าหนดแนวทางการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน
               การด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจ าปี

               งบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 โดยมุ่งเน้นออกแบบเกณฑ์ระเบียบวิธีและขั้นตอนประเมินอย่างเป็นระบบ
                                                                                       ั
               ลดภาระของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลดการใช้จ่ายงบประมาณเพมประสิทธิภาพการป้องกนการทุจริตเชิงรุก และ
                                                                  ิ่
               ให้ความส าคัญกับการพัฒนาเกณฑการประเมินให้สนับสนุนต่อการยกระดับค่าคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริต
                                            ์
               (Corruption Perceptions.Index : CPI) ของประเทศไทยได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยได้สังเคราะห์ผลการวิจัย

                                                    ั
               เรื่อง แนวทางการปรับปรุงและแนวการพฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
               ด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐเพอน าไปสู่การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทยให้
                                             ื่
               สูงขึ้นซึ่งเป็นไปตามทิศทางของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.


                                                                                                       95
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102