Page 171 - thaipaat_Stou_2563
P. 171
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ด้วยเหตุนี้ประเด็นเรื่อง “ความหมายอ านาจสถาปนาในรัฐธรรมนูญสารที่อนาคตใหม่ต้องการส่งต่อให้
ประชาชน” จึงเป็นเพียงข้อสังเกตของผู้เขียนที่มองว่าถ้าอานาจสถาปนาเป็นของประชาชนตั้งแต่การเริ่มก่อตั้ง
รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญนั้นย่อมยึดโยงและเกี่ยวพนกับประชาชนโดยปกป้องดูแลประชาชนสมตามเจตนารมณ์
ั
ของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยอย่างแท้จริง แต่ในเมื่อ
ความวุ่นวายทางการเมืองที่ผ่านมาท าให้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันถูกสร้างขึ้นด้วยอานาจเผด็จการที่สร้าง
ความชอบธรรมให้กับตัวเองผ่านวาทะกรรมการยุติความขัดแย้ง ด้วยความเป็นเผด็จการที่แสดงตนเป็นผู้ทรง
สิทธิ์ในการสถาปนารัฐธรรมนูญขึ้นมา ดังนั้นจึงไม่ใช่เป็นการแปลกแต่อย่างใดที่โครงสร้างและสถาบันทาง
การเมือง องค์กรของรัฐ องค์กรอสระ จะตอบสนองและคุ้มภัยให้แก่รัฐบาลที่สืบทอดอานาจเผด็จการนี้ถึงแม้
ิ
จะอางความเป็นประชาธิปไตยผ่านการเลือกตั้ง แต่ก็หาใช่ประชาธิปไตยตามหลักสากลไม่ ฉะนั้นหากกล่าวไป
้
แล้วอาจเป็นได้เพยงเผด็จการครึ่งใบเพราะตอนเป็น คสช. มีอานาจเต็มใบ แต่หลังจากการเลือกตั้งมีรัฐสภาใน
ี
การตรวจสอบอ านาจจึงเหลือเพียงครึ่งใบ
ระบอบประชำธิปไตยผ่ำนพื้นที่กำรช่วงชิงอ ำนำจทำงกำรเมือง
ปัญหาทางการเมืองไทยที่ผ่านมาเกิดจากการละเลยและไม่สนใจกับการท าความเข้าใจเรื่องที่มาของค า
ว่ารัฐธรรมนูญจนท าให้เกิดการตีความหมายของรัฐธรรมนูญเออประโยชน์ในเชิงการเมืองมากกว่าจะเป็น
ื้
ผลผลิตของการเป็นปฏิปักษ์กับระบอบการเมืองเก่า ทั้งนี้การแก้ไขปัญหาทางการเมืองโดยสร้างเครื่องมือและ
ื่
องค์กรต่างๆ ขึ้นมาเพอแก้ไขก็ย่อมไม่สอดคล้องและไม่ค านึงถึงหลักการและที่มาของค าว่ารัฐธรรมนูญ
สถานการณ์ดังกล่าวได้หยั่งรากลึกฝังเข้าไปในความรู้สึกและสามัญส านักของประชาชนว่าเมื่อไหร่ที่มีการ
พฒนาประชาธิปไตยโดยการเลือกตั้ง ผลลัพธ์ท้ายสุดที่ตามมาก็คือการเกิดการรัฐประหารและมีรัฐบาลทหาร
ั
เกิดขึ้นจนกลายเป็นวงจรการเมืองไทยที่ประชาชนของรัฐคิดว่าไม่สามารถแก้ไขได้ โดยเริ่มจากการฉีก
รัฐธรรมนูญ การเขียนรัฐธรรมนูญขึ้นมาใหม่ การจัดการเลือกตั้ง มีการปกครองรัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง
น ามาสู่การรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญ และย้อนกลับไปเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ฉะนั้นจากบริบทเหล่านี้ผู้เขียนจึง
ั
น าเสนอให้เห็นภาพว่าปัญหาวงจรชีวิตของความล้มเหลวในการพฒนาประชาธิปไตยเกิดจากการไม่สนใจกับ
การท าความเข้าใจเรื่องที่มาของค าว่ารัฐธรรมนูญจนท าให้เกิดการตีความหมายของรัฐธรรมนูญเออประโยชน์
ื้
ในเชิงการเมืองซึ่งอาจไม่สอดคล้องกบวิถีของระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยที่ตระหนักและให้ความส าคัญ
ั
กับวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองพร้อมๆ กับการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองเป็นอย่างดี โดย
48
อลมอนด์และเวอร์บา ได้เสนอแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมสาธารณะ (The Civic Culture) ไว้ว่าเป็นรากฐาน
ั
ส าคัญที่ท าให้ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยสามารถด าเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสเถียรภาพ
กล่าวคือ ประชาชนจะต้องมีการยึดถือค่านิยมและวัฒนธรรมบางอย่างร่วมกันอย่างเหนียวแน่น เช่น ค่านิยม
ความเชื่อ ความรู้สึกร่วม หรือความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับการเมือง ควบคู่ไปกับการตั้งข้อสงสัยในตัวผู้น าทาง
49
การเมือง นอกจากนี้ ลินซ์และสตีพาน ได้ให้ข้อเสนอว่าระบอบประชาธิปไตยจะมีประสิทธิภาพ เป็นปึกแผ่น
และมั่นคงได้ ขึ้นอยู่กับการที่ระบอบประชาธิปไตยเป็นที่ยอมรับของผู้คนในแวดวงการเมืองในจ านวนมากและ
ประชาชนส่วนใหญ่ ทั้งนี้ ยังเสนออกว่าระบอบประชาธิปไตยเป็นการเมืองที่ทุกคนควรยึดถือและสนับสนุน
ี
48 Almond and Verba. (1980). The Civic Culture Revisted. Boston : Little Brown. อ้างใน วัฒนา สุกัณศีล. (2555). จากการเมืองของ
รากหญ้า สู่ประชาธิปไตย 100 %. กำรเมือง-ประชำธิปไตยในท้องถิ่นภำคเหนือ. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชยงใหม่.
ี
49 Linz, J., and A, Stepan. (1996). Problems of democratic transition and consolidation: Southern Europe, South
America and post communist Europe. Baltimore: John Hopkins University Press.
169