Page 169 - thaipaat_Stou_2563
P. 169
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
หรือไม่ ค าถามดังกล่าวมักปรากฏออกมาหลายๆ ครั้ง โดยพรรคอนาคตใหม่พยายามตั้งค าถามกับรัฐธรรมนูญ
ฉบับปี พ.ศ.2562 ว่าเป็นมรดกบาปของการสืบทอดอานาจนิยมของรัฐบาลเผด็จการที่มี คสช. เป็นองค์
อธิปัตย์ ภายหลังการท ารัฐประหารรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2557
อย่างไรก็ตามภายหลังจากการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 พรรคอนาคตใหม่ได้มีบทบาทเป็นฝ่ายค้านท าหน้าที่ใน
รัฐสภาบทบาทดังกล่าวทั้งสมาชิกของพรรคอย่าง เช่น ปิยบุตร แสงกนกกุล พยายามอธิบายและสื่อสารให้
ประชาชนและสมาชิกในสภาเข้าใจถึงมูลเหตุของความไม่เป็นธรรมของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ โดยน ามาซึ่งปัญหา
ี
ทางการเมืองอนๆ อกมากมาย เช่น หลักการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา การเลือกนายกรัฐมนตรี รวมไปถึงองค์กร
ื่
ิ
ื่
อสระอนที่เกิดขึ้นโดยผลของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ซึ่งองค์กรอสระเหล่านั้นกลายเป็นกลไกในการปกป้อง คุ้มภัย
ิ
ให้แก่รัฐบาลซึ่งก็คือ “พรรคพลังประชารัฐ”
ตัวอย่างเช่น ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมได้พจารณาวาระรับทราบรายงานประจ าปี พ.ศ.
ิ
2560 ของศาลรัฐธรรมนูญ โดยพรรคอนาคตใหม่น าโดย ปิยบุตร แสงกนกกุล
ได้สรุปสาระหน้าที่ของการมีอยู่ขององค์กรศาลรัฐธรรมนูญ คือ “ศาลรัฐธรรมนูญมีบทบาทส าคัญ คือ
รักษาความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ รักษาหลักการประชาธิปไตย ตรวจสอบเสียงข้างมาก เป็นกลไก
ส าคัญในการคุ้มครองเสียงข้างน้อย และเป็นกลไกในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลต่าง ๆ การใช้อานาจของศาล
รัฐธรรมนูญนั้นจะต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่มาจากการเลือกตั้งอยู่เสมอ นั่นก็คือ รัฐสภา ที่มีความชอบธรรม
ทางประชาธิปไตย เพราะสมาชิกในรัฐสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน จึงมีความชอบธรรมในการเป็น
ผู้แทนของประชาชนในการออกกฎหมาย เมื่อศาลรัฐธรรมนูญต้องการมาตรวจสอบ ดังนั้นศาลรัฐธรรมนูญจึง
จ าเป็นต้องแสวงหาความชอบธรรมทางประชาธิปไตยพอเทียบเคียงกันได้กับผู้แทนราษฎร ฉะนั้นเมื่อองค์กร
เหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นในต่างประเทศ ในโลกตะวันตกที่มีการคิดค้นขึ้นมาจึงพยายามออกแบบให้ที่มาของศาล
รัฐธรรมนูญไปเชื่อมโยงกับประชาชนโดยผ่านทางสภาผู้แทนราษฎร ยกตัวอย่าง ในประเทศเยอรมนีที่มาของ
ี
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมาจากสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เลือกครึ่งหนึ่งและวุฒิสภาเป็นผู้เลือกอกครึ่งหนึ่ง เลือก
จากรายชื่อที่กระทรวงการยุติธรรม รัฐบาล และกลุ่มการเมืองในสภาจัดในบัญชีไว้ ผู้แทนราษฎรและสมาชิก
วุฒิสภาไปเลือกชื่อเหล่านั้นมา และใช้เสียง 2 ใน 3 ในส่วนของประเทศไทยที่มาของศาลรัฐธรรมนูญปัจจุบัน
ไม่ได้เชื่อมโยงจากสภาผู้แทนราษฎรแต่อย่างใด ปัญหาของศาลรัฐธรรมนูญไทยอานาจจะต้องเผชิญหน้ากับ
องค์กรที่มาจากการเลือกตั้งซึ่งมีความชอบธรรมทางประชาธิปไตย แต่ศาลรัฐธรรมนูญกลับมีที่มาที่ไม่เชื่อมโยง
กับสภาผู้แทนราษฎร สาเหตุเกิดจากปี พ.ศ.2557 มีการรัฐประหารยึดอานาจโดยคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.) สิ่งแรกที่คณะรัฐประหารต้องประกาศการยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใช้อยู่ในเวลานั้น หลังจาก
ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับนั้นไป จะปกครองประเทศแบบไม่มีรัฐธรรมนูญ และใช้อานาจตนเองตั้งตนเป็นรัฐาธิ
ปัตย์ ออกประกาศค าสั่งใช้เป็นกฎหมายทั้งหมดเรื่อยมาในการรัฐประหารในประเทศไทย ศาลรัฐธรรมนูญเป็น
์
ิ
องค์กรที่ท าหน้าที่พทักษ์รัฐธรรมนูญ เวลาเกิดการรัฐประหารองค์กรที่ท าหน้าพทักษรัฐธรรมนูญก็ควรที่จะต้อง
ิ
แสดงบทบาทต่อต้านรัฐประหาร ในปี 2557 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงศาลรัฐธรรมนูญแต่อย่างใด”
ในกรณีคล้ายกัน ผลการด าเนินการในเรื่องงานวิจัยของส านักศาลรัฐธรรมนูญ ในปี พ.ศ.2560
ส านักงานศาลรัฐธรรมนูญมีประเด็นน่าสนใจ คือ ศึกษาเรื่องการละเมิดอานาจศาลโดยเปรียบเทียบศาล
รัฐธรรมนูญไทยกับต่างประเทศ “มาตรา 38 วรรคสาม การวิจารณ์ค าสั่งหรือค าวินิจฉัยคดีที่กระท าโดยสุจริต
และมิได้ใช้ถ้อยค าหรือมีความหมายหยาบคายเสียดสีหรืออาฆาตมาดร้ายไม่มีความผิดฐานละเมิดอานาจศาล
ศาลรัฐธรรมนูญเป็นองค์กรที่ท าหน้าที่วินิจฉัยความชอบรัฐธรรมนูญและผูกพนทุกองค์กรเป็นที่สุด วิธีการ
ั
ตรวจสอบถ่วงดุลศาลรัฐธรรมนูญมีอยู่ทางเดียวนั้นก็คือการวิพากษ์วิจารณ์ การวิพากษ์วิจารณ์ไม่มีทาง
เปลี่ยนแปลงค าวินิจฉัยได้ กลไกการวิพากษ์วิจารณ์นั้นตรงกันข้ามกับกับการจะช่วยการตรวจสอบในการ
167