Page 166 - thaipaat_Stou_2563
P. 166
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ตามระบอบประชาธิปไตยแล้ว การบริหารอานาจภายในรัฐต้องมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง
(Majority Vote) พลเมืองเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตยที่แท้จริง โดยพลเมืองอาจใช้อ านาจด้วยตนเองหรือผ่านผู้
35
ุ
ี
แทนที่ถูกเลือกให้ไปใช้อานาจนั้นแทนได้ แต่ประชาธิปไตยของประเทศไทยยังเป็นเพยงอดมคติ เพราะ
พลเมืองในชาติไม่ได้มีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนอย่างเท่าเทียมกันในการท ารัฐธรรมนูญได้
อย่างแท้จริง คณะรัฐประหารเป็นผู้ก าหนดองค์กรทางการเมืองชั่วคราวขึ้นมา เพอท าหน้าที่ในการจัดท าร่าง
ื่
รัฐธรรมนูญ และน าไปสู่การลงประชามติว่าเห็นชอบ/ไม่เห็นชอบกับรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว ในกรณีการ
รัฐประหารปี พ.ศ.2557 ที่กระท าการโดย คสช. ก็เช่นกัน ได้แต่งตั้งให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ท าร่าง
รัฐธรรมนูญเพื่อให้ประชาชนได้ลงประชามติ จนน าไปสู่การเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562
ผลการเลือกตั้งปรกฎว่า พรรคอนาคตใหม่ได้รับมอบอานาจจากประชาชนเกือบ 6.3 ล้านคน ให้ท า
หน้าที่ในรัฐสภา พรรคอนาคตใหม่จึงมีความตั้งใจในการแสดงศักยภาพของพรรคผ่านการอภิปรายในการ
ประชุมรัฐสภาอยู่หลายครั้ง และต้องเผชิญหน้ากับการถูกร้องเรียนในหลายกรณี เช่น การฝ่าฝืน มาตรา 66
ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2560 หรือไม่ ที่ยื่นค าร้องโดยศรีสุวรรณา
จรรยา ไปยังคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.), ค าร้องโดยณฐพร โตประยูร ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นต้น ซึ่งค าร้องเรียนส่วนใหญ่ที่พรรคอนาคตใหม่โดนนั้นถูกยื่นไปยัง ก.ก.ต. และ
ศาลรัฐธรรมนูญเป็นหลัก แสดงให้เห็นถึงปัญหาเรื่องความชอบธรรมในการใช้อ านาจตามระบอบประชาธิปไตย
อย่างหนัก เพราะพรรคอนาคตใหม่มีความชอบธรรมในการด าเนินนโยบายหรือน าเสนอแนวทางในประเด็น
ต่างๆ ได้อย่างอสระภายใต้ที่กฎหมายก าหนดไว้ แต่จากประกาศ คสช.ที่ 11/2557 ให้รัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ิ
2550 สิ้นสุดลง สถาบันทางการเมืองที่เรียกว่า “ศาลรัฐธรรมนูญ” ยังคงสามารถปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ตาม
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2557 (ฉบับชั่วคราว) จึงเกิดการตั้งค าถามต่อศาลรัฐธรรมนูญอย่างหนักในประเด็นการ
เปรียบเทียบสัดส่วนที่มาและคุณสมบัติที่เข้มข้นขึ้นตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 ว่าจะสามารถปฏิบัติหน้าที่
36
ได้บริสุทธิ์และยุติธรรมได้จริงหรือไม่ เพราะตามวิสัยแล้วการท ารัฐประหารของทุกประเทศจะต้องมีค าสั่ง
37
ื่
ยกเลิกศาลรัฐธรรมนูญด้วย เพอป้องกันการถูกตรวจสอบภายหลัง และกระแสการวิพากษ์วิจารณ์ศาล
ี
รัฐธรรมนูญของไทยก็เกิดขึ้นอย่างหนักอกครั้ง หลังมีมติให้ยุบพรรคอนาคตใหม่และตัดสิทธิ์กรรมการบริหาร
ั
พรรคเป็นเวลา 10 ปี เมื่อวันที่ 21 กุมภาพนธ์ พ.ศ.2563 ก่อนหน้าที่จะเริ่มเปิดการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
38
ี
ั
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอก 5 คน ในช่วงวันที่ 24-27 กุมภาพนธ์ พ.ศ.2563 และจะลงมติในวันที่ 28
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563 ก่อนปิดสมัยประชุมสามัญประจ าปี
แสดงให้เห็นว่าศาลรัฐธรรมนูญที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรภายใต้ระบอบประชาธิปไตยนั้นไม่มี
ความชอบธรรมมากพอเมื่อเทียบเท่ากับองค์กรที่มาจากการเลือกตั้ง นั่นก็คือ รัฐสภา ที่มีความชอบธรรมทาง
ประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้ง ในมุมมองของคนรุ่นใหม่จ านวนมากจึงมองว่า “การสั่งยุบพรรคอนาคตใหม่
เป็นการท าลายอานาจของประชาชน และไม่เป็นไปตามระบอบประชาธิปไตย” ก่อให้เกิดการชุมนุมกันของ
นักศึกษาในแต่ละสถาบันรวมตัวกันเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยของพวกเขา พรรคอนาคตใหม่จึงเป็น
35 พงศธร ไชยเสน. (ม.ป.ป.). กำรพัฒนำระบอบประชำธิปไตยให้มั่นคงและยั่งยืน. กรุงเทพฯ : หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 3
ส านักงานศาลรัฐธรรมนูญ. หน้า 2-3.
36 วอยซ์ ออนไลน์. (2562). ชวนรู้จัก 9 ตุลำกำรศำล รธน. ยุค คสช. ก่อนสรรหำใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563, แหล่งที่มา :
https://voicetv.co.th/read/GjP4TLDHS.
37 ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). ‘ปิยบตร’ แนะ ศำลรัฐธรรมนูญอดทนตอเสียงวิจำรณ์ เป็นเสำหลักของบ้ำนเมือง. การประชุมสภา
ุ
่
ผู้แทนราษฎร วันที่ 14 สิงหาคม 2562 ณ อาคารรัฐสภาใหม่ เกียกกาย.
38 ไทยโพสต์. (2563). ยุบพรรคอนำคตใหม่จุดไฟลำมทุ่ง! กำรเมืองไทยเข้ำสู่โหมดลงท้องถนน. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563,
แหล่งที่มา : https://www.thaipost.net/main/detail/57894.
164