Page 170 - thaipaat_Stou_2563
P. 170
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ท างานให้ได้มาตรฐานมากขึ้น ผลักดันให้ศาลรัฐธรรมนูญมีการแก้ไขต่อไป เป็นระบบการตรวจสอบซึ่งกันและ
กัน บุคคลที่มีเสรีภาพในการวิพากษ์วิจารณ์ เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์กรของรัฐจะใช้กฎหมายใด บุคคลนั้นเลือกที่จะ
ไม่วิจารณ์ดีกว่า ไม่กล้าใช้เสรีภาพของตัวเอง”
การวิพากษ์วิจารณ์ไม่ใช่การท าลายศาลรัฐธรรมนูญแต่เป็นเกราะคุ้มกันให้ศาลรัฐธรรมนูญมีความเที่ยง
ธรรม มีความชอบธรรมทางประชาธิปไตย ยืนยัดเคียงข้างกับองค์กรที่มาจากเลือกตั้ง และตรวจสอบถ่วงดุลซึ่ง
ั
กันและกัน ศาลรัฐธรรมนูญมีความส าคัญกับระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ศาล
รัฐธรรมนูญจึงเป็นองค์กรส าคัญในการรักษาความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญส าคัญ
กับการสร้างหลักนิติรัฐคุ้มครองสิทธิของบุคคล คุ้มครองเสียงข้างน้อย แต่ศาลรัฐธรรมนูญก็ถือว่าเป็นองค์หนึ่งที่
ั
อยู่อาศัยในสังกัดประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน ดังนั้นการใช้อานาจของศาลรัฐธรรมนูญจึงต้องเป็นไปเพอพฒนา
ื่
ประชาธิปไตย สนับสนุนประชาธิปไตยมิใช่ขัดขวางหรือสกัดกั้นประชาธิปไตย
ิ
จากการสื่อสารดังกล่าวที่มีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผู้เขียนพนิจว่าหากมองย้อนกลับไปใน
ค าอธิบายที่ฝ่ายค้านน าโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคอนาคตใหม่ก าลังสื่อสารให้กับประชาชนก็คือ
การมองเห็นความพล่ามัวของอานาจในการประกอบสร้างรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2560 จนน าไปสู่การนิยาม
ิ
ิ
หน้าที่ขององค์กรอสระที่อยู่ในข้อบังคับของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ โดยมุ่งอธิบายไปถึงองค์กรอสระที่ ชื่อว่า ศำล
รัฐธรรมนูญ การมีอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญแต่เดิมมีหน้าที่ในการยึดโยงกบประชาชนโดยเป็นกลไกให้ประชาชน
ั
ิ
ใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบถ่วงดุลและพทักษ์รักษาไว้ซึ่งตัวของรัฐธรรมนูญตามวิถีของหลักการ
ิ
ประชาธิปไตย แต่พธีกรรมการประกอบสร้างรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ.2560 ได้สรรสร้างอานาจพเศษให้ศาล
ิ
ั
รัฐธรรมนูญโดยเป็นองค์กรที่ค าตัดสินมีผลผูกพนกับองค์กรของรัฐ และท าให้เชื่อได้ว่ามีเป็นองค์กรที่มีความ
โน้มเอยงทางการเมืองโดยมีข้อเคลือบแครงใจในการในผลของการตัดสินคดีทางการเมืองในหลายๆ ครั้ง
ี
อย่างไรก็ตามในที่นี้ผู้เขียนไม่ได้มีเจตนาในการวิพากษ์วิจารณ์ค าตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ (ซึ่งในทางสากลท า
ได้เพราะเป็นวิถีของการตรวจสอบถ่วงดุลตามอารยะประเทศที่มีระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย)
ด้วยหลักการและการน าเสนอประเด็นเรื่องศาลรัฐธรรมนูญของพรรคอนาคตใหม่ข้างต้น ผู้เขียนมอง
ว่าอีกนัยนึงของการช่วงชิงอ านาจทางการเมืองผ่านการรื้อถอนองค์ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญซึ่งน้อยกรณีที่จะ
มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้มีการกล่าวถึง โดยพยายามอธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับที่มาของการก่อตั้ง
รัฐธรรมนูญโดยมองผ่านกรอบ “อำนำจปฐมสถำปนำรัฐธรรมนูญ” ว่าผลพวงทั้งหมดทั้งในเชิงโครงสร้างและ
สถาบันการเมืองการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน การมีอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญ เกิดจากการพล่ามัวในการ
ตีความหมายของการก่อก าเนิดและความหมายของรัฐธรรมนูญที่ปราศจากการยึดโยงกับประชาชน อกทั้งแต่
ี
เดิมความเป็นรัฐธรรมนูญ (Constitution) ถูกอธิบายในลักษณะของประเทศหรือรัฐซึ่งก าหนดขึ้นโดย
โครงสร้างของกฎหมายพนฐาน อย่างไรนั้นกฎหมายที่เป็นพนฐานนี้ก็เป็นเพยงการอธิบายในลักษณะการ
ื้
ื้
ี
46
พรรณนา (Descriptive) มากกว่าที่จะเป็นการสร้างกฎเกณฑ์บังคับ (Prescriptive) ในปัจจุบันการ
ตีความหมายของรัฐธรรมนูญตามรูปแบบของรัฐชาติสมัยใหม่โดยมีส านึกร่วมกันว่าเป็นกฎหมายสูงสุดในการ
ปกครองประเทศหรือรัฐมีความสัมพนธ์และส าคัญในเรื่องสถาบันการเมือง รวมถึงหลักประกันเกี่ยวกับสิทธิ
ั
และเสรีภาพของบุคคล การช่วงชิงอานาจว่าด้วยเรื่องรัฐธรรมมูญของอนาคตให้เป็นหลักการของการสร้าง
47
ความชอบธรรมให้กับพรรคการเมืองฝั่งประชาธิปไตย โดยหวนกลับไปตั้งค าถามเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญที่เป็น
้
มรดกบาปของการสืบทอดอานาจของ คสช. ถึงแม้ว่าจะมีการเลือกตั้งโดยพรรคพลังประชารัฐอางความชอบ
ธรรมให้แก่ตนเองว่าเป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามครรลองของระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย
46 ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศำสตร์ข้อคิด อ ำนำจสถำปนำ และผลกำรเปลี่ยนผ่ำน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, หน้า 5
47 ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศำสตร์ข้อคิด อ ำนำจสถำปนำ และผลกำรเปลี่ยนผ่ำน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, หน้า 4.
168