Page 168 - thaipaat_Stou_2563
P. 168
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื้
พนที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง และยังเป็นตัวประสานประโยชน์ให้แก่กลุ่มผลประโยชน์กลุ่ม
42
ต่างๆ ที่ต้องการเข้าไปมีอิทธิพลในการก าหนดนโยบายของรัฐให้หันมาสนใจเสียงของประชาชนไม่มากก็น้อย
จากประเด็นปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองที่มาจากความไร้น้ ายาของประชาธิปไตยตัวแทน เป็น
การเปิดโอกาสให้กองทัพท าการรัฐประหารได้ง่ายขึ้น (มีการท ารัฐประหารถึง 2 ครั้ง ในช่วงระยะเวลา 10 ปี)
ท าให้การเมืองในมุมมองของประชาชนนั้นถูกแช่แข็งจากการเลือกตั้งเกือบ 8 ปี (นับตั้งแต่การเลือกตั้งในวันที่
3 กรกฎาคม พ.ศ.2554 จนถึงการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562) ถึงแม้ว่าจะมีบางช่วงที่มีรัฐบาล
พลเรือนที่มาจากการเลือกตั้ง แต่ด้วยปัญหาหลายด้านของรัฐบาลพลเรือนก็ท าให้กองทัพต้องเข้าควบคุม
อานาจ ละเมิดสิทธิและเสรีภาพทั้งสื่อมวลชนและประชาชนภายในประเทศ ท าให้นานาประเทศไม่ยอมรับ
รัฐบาลที่มาจากเผด็จการและกดดันให้คืนอ านาจแก่ประชาชนให้เร็วที่สุด เมื่อ คสช. ด าเนินการปฏิรูปการเมือง
ตาม Road Map เป็นที่เรียบร้อย พร้อมกับการประกาศให้มีการเลือกตั้งที่ผ่านมา พรรคการเมืองฝั่งต่อต้าน
เผด็จการ เช่น พรรคเพอไทย พรรคอนาคตใหม่ พรรคไทยรักษาชาติ พรรคเศรษฐกิจใหม่ พรรคเสรีรวมใจไทย
ื่
เป็นต้น จึงเร่งหาเสียงด้วยนโยบายที่จะยับยั้งการสืบทอดอานาจของ คสช. ผ่านพรรคพลังประชารัฐอย่างเต็ม
ก าลัง ด้านพรรคอนาคตใหม่จึงประกาศอดมการณ์และเป้าหมายผ่านพนที่สาธารณะที่มุ่งให้ความส าคัญกับ
ุ
ื้
43
เสียงของประชาชน ต้องการเป็นรัฐบาล และพร้อมที่จะจับมือกับทุกพรรคการเมืองที่ต่อต้านอานาจ คสช.
ส่งผลให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยเฉพาะ “คนรุ่นใหม่ที่มีสิทธิเลือกตั้งครั้งแรก (First Vote), ผู้ที่เบื่อหน่ายการเมือง/
นักการเมืองแบบเก่า และผู้ที่มีความคิดต่อต้านเผด็จการ” ให้ความสนใจพรรคอนาคตใหม่เป็นอย่างมาก
ควำมหมำยอ ำนำจสถำปนำในรัฐธรรมนูญสำรที่อนำคตใหม่ต้องกำรส่งต่อให้ประชำชน
อานาจสถาปนารัฐธรรมนูญเป็นค าที่ผู้เขียนเรียกย่อๆ มาจากค าว่า “อำนำจปฐมสถำปนำ
รัฐธรรมนูญ ” ซึ่ง ปิยบุตร แสงกนกกุล ได้อธิบายหมายความว่า อานาจแห่งการริเริ่ม อนไร้ขอบเขต
45
ั
44
ื่
ข้อจ ากัดและเป็นอสระ เพอใช้ก่อตั้งระบบการเมืองและระบบกฎหมาย โดยจะต้องเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่
ิ
ปราศจากอานาจจากระบอบการเมืองและระบอบกฎหมาย ฉะนั้นในช่วงเวลาที่ระบอบการเมืองหนึ่งก่อตั้งขึ้น
และด ารงอยู่อย่างปกติ อานาจปฐมสถาปนารัฐธรรมนูญจะไม่มีการเกิดขึ้นได้อย่างเด็ดขาด มันจะเกิดขึ้นได้ก็
ึ้
ต่อเมื่อเกิดการท าลายระบบการเมืองเก่าที่ด ารงอยู่ให้ดับสูญลงไปและก่อตั้งระบบใหม่ขนมาแทน ทั้งนี้ วรเจตน์
ิ่
ภาคีรัตน์ ได้อธิบายเพมเติมโดยชี้ให้เห็นว่า อานาจสถาปนารัฐธรรมนูญเกี่ยวพนกับการเกิดขึ้นของรัฐธรรมนูญ
ั
กล่าวคือ การก่อร่างสร้างรูปแบบระบอบใหม่ มีลักษณะเป็นการแตกหักกับระบอบเดิม หรือระเบียบทาง
การเมืองที่เป็นมาแต่เดิม รัฐธรรมนูญเป็นผลหรือเป็นการเกิดขึ้นจากการปฏิวัติ และเกิดขึ้นจากอ านาจสถาปนา
รัฐธรรมนูญ การก่อรูปรัฐธรรมนูญขึ้นมานั้นเป็นผลพวงมาจากการปฏิวัติการแตกหักกับระบอบการปกครอง
แบบเดิม จากการอธิบายข้างต้นสะท้อนนัยเพอเกิดการตั้งค าถามกับรัฐธรรมนูญในฉบับปัจจุบัน คือ ใครคือผู้
ื่
ทรงอานาจสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับนี้ เป็นประชาชนหรือเป็น คสช. หากเป็นประชาชนรัฐธรรมนูญฉบับปี
พ.ศ. 2562 นี้ยึดโยงกับประชาชนหรือไม่ หากเป็น คสช. จะเรียกว่าเป็นระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตย
42 จุมพล หนิมพานิช. (2552). กลุ่มผลประโยชน์กับกำรเมืองไทยแนวเก่ำ แนวใหม่ และกรณีศึกษำ. กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. หน้า 119-122.
43 ข่าวสด. (2562). “ธนำธร” ปลุกต้ำนรัฐประหำร! เอือมศึกแย่งเก้ำอี้ ซัด “บิ๊กต” จับ ปชช.เป็นตัวประกัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม
ู่
2562, แหล่งที่มา : https://www.khaosod.co.th/politics/news_2672775.
44 อ ำนำจปฐมสถำปนำรัฐธรรมนูญ เป็นค าที่ ศ.ดร. เกษียร เตชะพีระ ใช้แทนค าว่า pouvoir costituant originaire (จากหนังสือ รัฐธรรมนูญ
ประวัติศาสตร์ข้อคิด อ านาจสถาปนา และผลการเปลี่ยนผ่าน.ของ ปิยบุตร แสงกนกกุล.)
45 ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562). รัฐธรรมนูญ ประวัติศำสตร์ข้อคิด อ ำนำจสถำปนำ และผลกำรเปลี่ยนผ่ำน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, หน้า ค าน า
ผู้เขียน.
166