Page 167 - thaipaat_Stou_2563
P. 167
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ี
เพยงภาพสะท้อนของความล้มเหลวของระบอบประชาธิปไตยไทยที่ชนชั้นน าบางกลุ่มไม่ยอมให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงโดยคนรุ่นใหม่ แต่ในทางกลับกันพรรคอนาคตใหม่ก็ถือว่าเป็นเชื้อไฟในการปลุกเร้าให้ประชาชน
ทั่วไป (ไม่เจาะจงแค่กลุ่มคนรุ่นใหม่) ได้หันมาสนใจการเมือง รู้ถึงอานาจและหน้าที่ของตนเองว่าเป็นเจ้าของ
อ านาจอธิปไตยตัวจริงตามระบอบประชาธิปไตยสากล
นโยบำยพรรคอนำคตใหม่บนฐำนกำรเมืองภำคพลเมือง
่
ค าถามส าคัญที่นักอนุรักษ์นิยมสงสัยว่า “ท ำไมกลุ่มคนรุ่นใหมจึงให้ควำมสนใจพรรคอนำคตใหม”
่
นั้น เมื่อพิจารณาจากหน้าที่และบทบาทของพรรคการเมืองโดยทั่วไป 6 ประการ พบว่า 1.พรรคถูกจัดตั้งมา
39
ถูกต้องตาม พรบ.พรรคการเมืองฯ พรรคท าหน้าที่เลือกบุคคลที่จะมาลงสมัครรับเลือกตั้งในแต่ละเขต โดยเน้น
ความหลากหลายและเป็นคนรุ่นใหม่ ประชาชนจึงตัดสินใจเลือกทั้งตัวแทนของพรรคเองและเลือกที่ตัวพรรค
โดยไม่สนใจว่าตัวแทนพรรคจะเป็นใคร จนได้คะแนนนิยมโหวตเป็นอันดับ 3 รองจากพรรคพลังประชารัฐและ
พรรคเพอไทยตามล าดับ 2.สมาชิกพรรคมีอดมการณ์การร่วมกันที่ชัดเจน มีศักยภาพและมีทิศทางในการ
ุ
ื่
ื้
สื่อสารกับประชาชนในพนที่สาธารณะไปในทิศทางเดียวกัน 3.พรรครวบรวมประเด็นปัญหาในสังคมที่เป็น
ื้
ข้อเท็จจริง ผนวกกับการลงพนที่เชิงรุกมาน าเสนอให้ประชาชนให้รับทราบ และผันแปรประเด็นต่างๆ ให้เป็น
40
นโยบายในการหาเสียง ด้วยการโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) ผ่านโลกออนไลน์เป็นส าคัญ 4.พรรค
กระตุ้นความสนใจทางการเมืองและดึงดูดประชาชนที่เบื่อหน่ายการเมืองแบบเก่า (ประชาธิปไตยแบบตัวแทน
: Representative Democracy) กับกลุ่มคนที่ต่อต้านอานาจเผด็จการให้มาเป็นสมาชิกพรรค/มีความคิดเห็น
ไปในทิศทางเดียวกับพรรค เพอเป็นการสร้างฐานเสียงในการเลือกตั้ง 5.พรรคมีการวางแผนและจัดบุคคลที่มี
ื่
ความรู้ความสามารถในประเด็นต่างๆ ร่วมกันการแถลงนโยบายทั้ง 12 วาระ อย่างเปิดเผย และ 6.พรรคเป็น
กระบอกเสียงให้แก่ประชาชน เชิดชูความเป็นประชาธิปไตยที่มาจากการมีส่วนร่วมของประชาชน หรือที่หมู่
41
นักวิชาการทางรัฐศาสตร์เรียกว่า “ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Democracy) ”
ตามมุมมองของผู้เขียนมองว่าตามหน้าที่และบทบาทข้างต้นจะกระท าได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ต้อง
อาศัยปัจจัยเกื้อหนุนอยู่หลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่ส าคัญที่สุด คือ การที่พรรคให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน กระตุ้นจิตส านึกของพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยในไทยให้กลับมาสนใจการเมือง การต่อต้าน
อานาจเผด็จการด้วยการชูนโยบาย “ถ้ำชนะเลือกตั้งจะแก้รัฐธรรมนูญ 2560 ทั้งฉบับ” โดยจะกระท าการ
อย่างรอบคอบและเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่ มีการส่งตัวแทนลงพนที่
ื้
ส ารวจปัญหา ซึ่งพรรคการเมืองอื่นก็เช่นท ากัน แต่พรรคนี้มีความพิเศษกว่าพรรคอื่นตรงที่น าข้อมูลที่ได้จากพน
ื้
ื้
ที่มาประมวลผลก่อนน าเสนอต่อพนที่สาธารณะอย่างมีหลักการและเหตุผลเชิงวิชาการ การท าให้พรรคเป็นของ
ประชาชน (ประชาชนทุกคนคือหุ้นส่วนของพรรค) มุ่งการท างานระยะยาวด้วยการผลิตหน่วยงานทางการเมือง
ิ
มารองรับการท างานภาคสังคมคู่ขนานกับการท างานภาคการเมือง คือ การจัดตั้งมูลนิธิที่ท างานอย่างอสระ
สนับสนุนกิจกรรมของเยาวชน และจัดตั้งวิสาหกิจเพื่อสังคมเป็นพื้นที่ในการทดลองนโยบายของพรรค ช่วยเพิ่ม
ั
ื้
ความสัมพนธ์อนดีกับพนที่/เครือข่ายภาคพลเมือง พรรคนี้จึงเป็นกลไกที่ส าคัญในการประคับประคองการเปิด
ั
39 วิทยา นภาศิริกุลกิจ และคณะ. (2539). พรรคกำรเมืองและกลุ่มผลประโยชน์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามค าแหง. พิมพ์ครั้งที่ 8.
หน้า 15-24.
40 วรัชญ์ ครุจิต. (2562). วิเครำะห์ยุทธศำสตร์กำรท ำ Branding ของ “พรรคอนำคตใหม่”. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2562, แหล่งที่มา :
http://thaitribune.org/contents/detail/302?content_id=35012&rand=1553585660.
41 ชลัท ประเทืองรัตนา และสติธร ธนานิธิโชติ. (2559). องค์ควำมรู้ว่ำด้วยประชำธิปไตยแบบปรึกษำหำรือส ำหรับสังคมไทย. ใน การประชุม
วิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่18. หน้า 207-226. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพระปกเกล้า. หน้า 210.
165