Page 192 - thaipaat_Stou_2563
P. 192
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ฝันให้กับผู้รับชมภาพยนตร์มากกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริง แม้เนื้อหาของภาพยนตร์จะสื่อถึงความพยายามต่างๆของ
ื่
ื่
ตัวละครหลักเพอให้ประสบความส าเร็จ แต่ในชีวิตจริงแล้วเกิดขึ้นได้ยากมาก และต้องอาศัยปัจจัยอน ๆ
สนับสนุนนอกเหนือจากความพยายามดิ้นรนเพียงอย่างเดียว
ดังนั้น การศึกษาภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องซูโทเปียนี้จึงเป็นการพยายามมองอกด้านหนึ่งที่เกิดขึ้นใน
ี
สังคมอเมริกัน โดยผู้ศึกษาต้องการจะชี้ให้เห็นว่าการพยายามท าตามความฝันของตัวละครหลักในภาพยนตร์ไม่
สามารถเกิดขึ้นโดยง่ายตามที่ภาพยนตร์ได้สื่อออกมา ซึ่งการที่จะท าให้สังคมเกิดความเท่าเทียมนั้นไม่ใช่แค่
เพียงการ “พยายาม” ให้เกิดขึ้น แต่เกิดจากการที่เราต้องขจัดปัญหาการเอารัดเอาเปรียบของนายทุนในระบบ
เศรษฐกิจ รวมทั้งปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง American Dream ความเหลื่อมล้ าทางเชื้อชาติ
ความแตกต่างของช่องว่างทางรายได้ ความเหลื่อมล้ าทางด้านการศึกษา การเลื่อนชนชั้นทางสังคม ความ
เหลื่อมล้ าทางเพศ และความเหลื่อมล้ าทางด้านอาชีพ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจจะเป็นส่วนหนึ่งที่ส าคัญและ
ี
อาจเพียงพอที่จะตอบค าถามว่าท าไมสังคมในทุกประเทศไม่สามารถที่เกิดความเท่าเทยมกันได้อย่างที่ทุกคนฝัน
ที่ต้องการให้เกิดขึ้น โดยผู้วิจัย จะแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ด้านหลักๆ คือ 1) ระบบเศรษฐกิจที่เกิดจาก
ั
แนวคิดเสรีนิยมใหม่จนน ามาสู่การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2) อนน าผลมาสู่ปัญหาทางด้านสังคมในด้านความ
เหลื่อมล้ าหรือความไม่เท่าเทียม
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
1. เพื่อศึกษาแนวคิดเสรีนิยมใหม่และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสังคมอเมริกา
ื่
2. เพอศึกษาสิ่งที่ภาพยนตร์ เรื่องซูโทเปียสะท้อนออกมาเปรียบเทียบกับสภาพจริงของสังคมอเมริกา
ในประเด็นเรื่องความเหลื่อมล้ าทางสังคม
กำรทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดเสรีนิยมใหม่ (Neo-Liberalism)
แนวคิดเสรีนิยมใหม่เป็นแนวคิดที่ต่อต้านการรวมศูนย์ทางเศรษฐกิจโดยรัฐ ซึ่งมีกลุ่มคนจ านวนหนึ่งที่
สนับสนุนแนวคิดนี้อนเป็นผลมาจากแนวคิดเสรีนิยมแบบตลาดไม่สามารถแก้ปัญหาวิกฤตในทศวรรษ 1970
ั
ได้ ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นนักวิชาการเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และนักปรัชญา นับตั้งแต่นั้นมาแนวคิดนี้
ิ
ิ่
ุ
จึงเริ่มได้รับการอปถัมภ์มากขึ้นในสถาบันชั้นน าหลายแห่ง และมีอทธิพลเพมขึ้นในแวดวงวิชาการ โดยเฉพาะ
ในมหาวิทยาลัยชิคาโก ซึ่ง มิลตัน ฟรีดแมน เป็นผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ โดยหลักแล้ว แนวคิดเสรีนิยมใหม่
อธิบายถึงการลดบทบาทของภาครัฐลง และเพมบทบาทกับตลาดเสรีมากขึ้น โดยมีกลไกตลาดเป็นตัว
ิ่
ขับเคลื่อน ซึ่งมีนโยบายเป็นภาพที่แสดงให้เห็นประจักษ์ชัด โดยมีหลักคิดอยู่ 4 ประการ ประกอบไปด้วย (1)
ั
Marketization กลไลของการตลาดมีส่วนของทุกความสัมพนธ์ในระบบเศรษฐกิจ (2) Deregulation เงินทุน
สามารถเคลื่อนย้ายในระบบได้สะดวกมากขึ้น จากการผ่อนปรนกฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (3)
Budget Cut ลดภาระของรัฐบาลลง โดยการตัดลดงบประมาณของภาครัฐบางส่วน เพอเป็นการผลักภาระ
ื่
ให้แก่ภาคประชาชนแบกรับค่าใช้จ่ายแทน เช่น การแปรรูปสู่รัฐวิสาหกิจ การศึกษา สาธารณสุข เป็นต้น (4)
Stabilization การรักษาเสถียรภาพทางการคลังและระบบเศรษฐกิจภาพรวม เช่นที่ ฟรีดริช ฟอน ฮาเยก
(Friedrich von Hayek) ยังคงมีแนวคิดตามอดัม สมิธ (Adam Smith) ในส่วนของมือที่มองไม่เห็นในตลาดนั้น
ย่อมดีกว่าการที่ภาครัฐเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ โดยมุ่งเน้นไปที่กลไกราคาที่ไม่บิดเบือนที่มาจากความ
ร่วมมือจากประชาชนที่เปิดกว้างให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม และ มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) ก็เห็น
ั
ด้วยกับ ฮาเยก ในส่วนของการแทรกแซงของภาครัฐอนตรายที่สุด
โดยหลักแล้ว แนวคิดเสรีนิยมใหม่ อธิบายถึงการลดบทบาทของภาครัฐลง และเพมบทบาทกับตลาด
ิ่
เสรีมากขึ้น โดยมีกลไกตลาดเป็นตัวขับเคลื่อน ซึ่งมีนโยบายเป็นภาพที่แสดงให้เห็นประจักษ์ชัด โดยมีหลักคิด
ั
อยู่ 4 ประการ ประกอบไปด้วย (1) Marketization กลไลของการตลาดมีส่วนของทุกความสัมพนธ์ในระบบ
เศรษฐกิจ (2) Deregulation เงินทุนสามารถเคลื่อนย้ายในระบบได้สะดวกมากขึ้น จากการผ่อนปรน
190