Page 197 - thaipaat_Stou_2563
P. 197
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ความเหลื่อมล้ ามักจะเป็นที่เข้าใจในความหมายของความแตกต่างด้านรายได้และความมั่งคั่ง
ี
ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน แต่อนที่จริงแล้วสิ่งเหล่านี้เป็นเพยงส่วนหนึ่ง เพราะความเหลื่อมล้ ายัง
ั
ครอบคลุมไปสู่ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างผู้ที่มีโอกาสกับผู้ที่ขาดโอกาส ซึ่งปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาเชิง
โครงสร้างที่เป็นผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่ทัดเทียมกัน โดยผู้วิจัยมองว่ามีสาเหตุหลักมาจากระบบ
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ที่ท าให้เกิดความเหลื่อมล้ าด้านเศรษฐกิจอันน าไปสู่ความเหลื่อมล้ าด้านสังคมในที่สุด
ซึ่งสังคมอเมริกาถือเป็นผลลัพธ์หนึ่งจากแนวคิดเสรีนิยมใหม่ และซูโทเปียก็เป็นผลผลิตที่สะท้อนออกมาใน
รูปแบบภาพยนตร์ จากข้อเท็จจริงในสังคมอเมริกาอีกชั้นหนึ่ง
สิ่งที่ภาพยนตร์เรื่องซูโทเปียสะท้อนออกมาเปรียบเทียบกับสภาพจริงของสังคมอเมริกาในประเด็น
เรื่องความเหลื่อมล้ าทางสังคม พบว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นผลผลผลิตที่เกิดขึ้นจากปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นโดยมี
แนวคิด มาจากสังคมในเมืองหลวงของประเทศพัฒนาแล้ว นั้นคือ ประเทศสหรัฐอเมริกาและสะท้อนภาพความ
เป็นเมืองหลวงอย่างมหานครนิวยอร์กให้กลายเป็นนครซูโทเปียเมืองหลวงศรีวิไลที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง
ให้กับเหล่าสัตว์ที่เข้าไปหาความเจริญและสร้างความมั่งคั่งให้กับชีวิต อย่างไรก็ตาม ในภาพยนตร์ก็ยังสะท้อน
ื่
ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในสังคมเมริกาผ่านตัวละครอน ๆ ในการด าเนินเรื่องและสะท้อนภาพปัญหาของสังคมที่
หลบซ่อนอยู่ในเมืองหลวงอย่างนครซูโทเปียซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมากจากปัญหาในสังคมที่เกิดขึ้นจริงในเมือง
หลวงอย่างเมืองนิวยอร์ก โดยแบ่งประเด็นเป็น 5 ประเด็นได้แก่ ความเหลื่อมล้ าทางเชื่อชาติ ความเหลื่อมล้ า
ในการประกอบอาชีพ ความเหลื่อมล้ าทางเพศ ความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา และการเลื่อนชั้นทางสังคม ดังนี้
ั
1. ประเด็นความเหลื่อมล้ าทางเชื่อชาติ ถูกสะท้อนออกมาผ่านการแบ่งแยกเผ่าพนธุ์ที่ภาพยนตร์ได้
พยายามสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างของเผ่าพันธุ์สัตว์สองประเภทได้แก่ เผ่าพันธุ์นักล่า และ เหยื่อที่จะต้อง
มาอาศัยร่วมกันในนครยูโทเปียโดยภาพพยนตร์สะท้อนถึงการเลือกปฏิบัติของแต่ละเผ่าพันธุ์ที่ไม่เท่าเทียม รวม
ไปถึงการตีตรารวมถึงการเหยียดหยามศกดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ภายใต้ลักษณะรูปร่างของสัตว์ที่แตกต่างกนตาม
ั
ั
บุคคลิกท่าทางของคนแต่ละเชื่อชาติ โดยได้น าบุคคลิกต่างๆของเชื่อชาติที่อาศัยในสังคมอเมริกาที่มีความ
ี
แตกต่างกันผ่านการสื่อสารของตัวละครและท่าทางในภาพยนตร์ อกทั้งยังพยายามสะท้อนให้เห็นปัญหาเรื้อรัง
ของสังคมอเมริกา ในการเหยียดเชื่อชาติ และ การเลือกปฏิบัติซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่านครยูโทเปียที่เป็นหนึ่งใน
ตัวแทนของเมืองหลวงอย่างนิวยอร์กมีปัญหาเหล่านี้สะสมอยู่มากมายและรอวันแก้ไข
2. ประเด็นการเข้าถึงอาชีพระดับสูง นั้นเป็นประเด็นของคุณภาพชีวิตและความเท่าเทียมกันของ
ปัจเจคชน ภายในภาพยนตร์ใช้ตัวเอก หรือ จูดี้ เป็นตัวแทนของความเท่าเทียมทั้งความเท่าเทียม ทางเพศ เชื้อ
ชาติ ความเชื่อรวมไปถึงความเป็นพลเมืองของรัฐ ที่ควรจะต้องได้รับสิทธิที่เท่าเทียมกันต่อต้านแนวคิดแบบ
ดังเดิมอย่างเช่น การเหมารวมที่เกิดขึ้นทั้งการสร้างกรอบเส้นทางอาชีพแบบล้าหลัง เช่น เพศหญิงเป็นได้แค่
เสมียณ หรือ คนจากชนบทเหมาะสมกับการท าไร่มากกว่าการหางานในเมืองหลวง เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ คือ
แนวคิดแบบดังเดิมที่เกิดขึ้นในประเทศที่พฒนาหลายประเทศที่ยังมีแนวคิดแบบดังเดิมซึ่งภาพยนตร์ได้สะท้อน
ั
ออกมาถึงสิทธิในการเป็นมนุษย์ ย่อมมากับสิทธิในการเลือกที่จะประกอบอาชีพและอสระในการเลือกอาชีพ
ิ
รวมไปถึงการแข่งขันอย่างเท่าเทียมระหว่างเพศ เชื้อชาติ และรวมถึงบุคคลที่ศาสนาและความเชื่อที่แตกต่างกัน
ต้องได้รับความเคารพในการประกอบอาชีพ และได้รับคุณภาพชีวิตที่เท่าเทียมกันด้วยเช่นกัน
3. ประเด็นความเหลื่อมล้ าทางเพศ เป็นประเด็นที่มีมาอย่างยาวนานในสภาพสังคมความเป็นจริงของ
สังคมอเมริกา ซึ่งภาพยนตร์ได้จับประเด็นความเหลื่อมล้ าทางเพศผ่านการสื่อสารของจูดี้ รองนายกรัฐมนตรี
หรือท่าทีของเพศชายที่มีต่อเพศหญิงพยายามได้สะท้อนถึงการเอาเปรียบทางเพศผ่าน นายกรัฐมนตรี (สิงโต)
ที่มีต่อ รองนายรัฐมนตรีที่เป็นเพศหญิง (แกะ) หรือ แม้แต่ในช่วงแรกของภาพยนตร์ถึงการดูถูกเหยียดหยามจู้ดี้
ในอาชีพของเธอเพยงเพราะเธอเป็นผู้หญิง ซึ่งภาพยนตร์พยายามสร้างภาพลักษณ์ของแนวคิดแบบสตรีนิยม
ี
(Feminist) ให้ชัดเจนมากขึ้นซึ่งในสภาพสังคมของโลกความเป็นจริงการรงณรงค์ในความเท่าเทียมทางเพศก็
195