Page 193 - thaipaat_Stou_2563
P. 193

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               กฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (3) Budget Cut ลดภาระของรัฐบาลลง โดยการตัดลดงบประมาณของ
               ภาครัฐบางส่วน              เพื่อเป็นการผลักภาระให้แก่ภาคประชาชนแบกรับค่าใช้จ่ายแทน เช่น การแปรรูปสู่
               รัฐวิสาหกิจ การศึกษา สาธารณสุข เป็นต้น (4) Stabilization การรักษาเสถียรภาพทางการคลังและระบบ
               เศรษฐกิจภาพรวม เช่นที่   ฟรีดริช ฟอน  ฮาเยก (Friedrich von Hayek) ยังคงมีแนวคิดตามอดัม สมิธ ใน

               ส่วนของมือที่มองไม่เห็นในตลาดนั้นย่อมดีกว่าการที่ภาครัฐเข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ โดยมุ่งเน้นไปที่
               กลไกราคาที่ไม่บิดเบือนที่มาจากความร่วมมือจากประชาชนที่เปิดกว้างให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม  และ มิลตัน
               ฟรีดแมน (Milton Friedman) ก็เห็นด้วยกับ ฮาเยก ในส่วนของการแทรกแซงของภาครัฐอันตรายที่สุด
                       ควำมเหลื่อมล้ ำทำงเศรษฐกิจและสังคม
                                                                      ิ
                              วรรณกรรมในส่วนแรกเริ่มจากงานของ โทมัส พเก็ตตี (Thomas Piketty) จากหนังสือเรื่อง
                                    57
               ทุนนิยมในศตวรรษที่ 21  หรือ Capital in the Twenty-First Century ซึ่งกล่าวถึงการกระจายความมั่งคั่ง
               ที่เป็นผลมาจากทุนนิยมในปัจจุบัน โดย พิเก็ตตี ได้รวบรวมข้อมูลมาจาก 2 แหล่ง ได้แก่ ข้อมูลที่เกี่ยวกับความ

               เหลื่อมล้ าด้านรายได้และการกระจายรายได้  ส่วนแหล่งที่สองเกี่ยวกับการกระจายความมั่งคั่ง รวมทั้ง
               ความสัมพันธ์ระหว่างความมงคั่งกับรายได้
                                       ั่
                       งานถัดมาเป็นหนังสือของ โจเซฟ อี. สติกลิตซ์ (Joseph E. Stiglitz) เรื่อง ราคาของความเหลื่อมล้ า
                                                                                             58
               หรือ The Price of Inequality: How Today’s Divided Society Endangers our Future  ที่มุ่งหมาย
               อธิบายถึงสังคมอเมริกา เพราะเป็นประเทศที่ประสบความส าเร็จในการกลายเป็นสังคมที่มีระดับความเหลื่อม
               ล้ าด้านรายได้สูงที่สุดในประเทศชั้นน าของโลก ซึ่งเมื่อประเทศอนๆ ด าเนินตามการน าของอเมริกาก็จะประสบ
                                                                    ื่
                                         ิ่
               กับปัญหาความเหลื่อมล้ าที่เพมขึ้นไม่ต่างกัน ในบทความนี้ สติกลิตซ์ มองว่า ความเหลื่อมล้ าที่เกิดขึ้นใน
               ประเทศส่วนใหญ่เป็นเป็นหนึ่งในวิกฤตที่โลกนี้เผชิญในยุคปัจจุบัน  ผู้คนทุกหนแห่งต่างรับรู้ได้ว่าเป็นสิ่งที่ผิด
               ศีลธรรม  ไม่สามรถท าให้อยู่ในครรลองคลองธรรมได้  ท าให้เกิดการแบ่งแยกทางสังคมและทดทอนความเป็น
               ประชาธิปไตย และรับรู้ได้ถึงความอนตรายของมัน  ซึ่งผลกระทบจากความเหลื่อมล้ าเหล่านี้ควรจะเป็นสิ่งที่ใช้
                                             ั
               ส าหรับสร้างมาตรการลดความเหลื่อมล้ า แม้ไม่ใช่ทุกคนที่จะค านึงถึงประเด็นนี้  แต่ในที่สุดมันจะมีเหตุผล
                                                        ่
                                                             ้
                 ี
               เพยงพอให้เราต้องท าอะไรสักอย่างเพราะเราจะพายแพต่อมันและมันจะท าลายระบบเศรษฐกิจของเรา โดย
               บทความนี้ต้องการอธิบายถึงที่มาและธรรมชาติของความไม่เท่าเทียมที่มีหลายมิติ  นอกจาก สติกลิตซ์ ได้
               อธิบายว่าท าไมมันถึงมีผลกระทบที่ร้ายแรง   อีกทั้งเขายังมีข้อโต้แย้งว่า ความไม่เท่าเทียมนี้ไม่ใช่หลีกเลี่ยงไม่ได้
               แต่มันเป็นผลมาจากนโยบายและการเมือง โดยเขามองว่า นโยบายสร้างปัญหา ดังนั้นมันก็ต้องช่วยให้เราหลุด
               พนจากปัญหาได้เช่นกัน  ซึ่งมันจะต้องมีนโยบายที่กระตุ้นให้เกิดการลดความเหลื่อมล้ าและสร้างโอกาสในการ
                 ้
               รักษาการแบ่งแยกทางสังคม และท าให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง  และนอกจากนี้ Stiglitz ใช้ประเด็นทางด้าน
                                                                                                   ั
               สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ (climate change) มาอธิบายถึงความสัมพนธ์ที่ท า
                                                ั
               ให้เกิดความเหลื่อมล้ า เพราะประเทศพฒนาแล้วท าให้ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงในขณะที่คนจนในประเทศก าลัง
               พัฒนามีความใกล้ชิดและใช้ชีวิตกับธรรมชาติมากกว่า

                       เรื่องต่อมาคือหนังสือ เรื่อง The Great Divide: Unequal Societies and What We Can Do
                           59
               About Them  เขียนโดย Joseph E. Stiglitz เช่นเดียวกัน และเป็นหนังสือที่ต่อเนื่องมาจาก The Price of
               Inequality: How Today’s Divided Society Endangers our Future และสอดคล้องอย่างยิ่งกับงานของ
               พิเก็ตตีในหนังสือเล่มนี้ Stiglitz พยายามอธิบายให้เห็นถึงการด าเนินนโยบายตั้งแต่สมัยประธานาธิบดี Reagan
               จนมาถึงภาวะเศรษฐกิจตกต่ าทั่วโลกและผลที่ตามมาหลังจากนั้น ที่น าไปสู่สังคมอเมริกาที่มีความเหลื่อมล้ าจาก



               57  โทมัส พิเก็ตตี, ทุนนิยมในศตวรรษที่ 21, แปลโดย นรินทร์ องค์อินทรี (กรุงเทพฯ : บางกอกโพสต์, 2560).
                             ์
               58  โจเซฟ อี. สติกลิตซ, ราคาของความเหลื่อมล้ า, แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล (กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์, 2556).
               59  Joseph E. Stiglitz, The Great Divide: Unequal Societies and What We Can Do About Them (New York : W.W. Norton,
               2015).
                                                                                                     191
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198