Page 194 - thaipaat_Stou_2563
P. 194
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ตามรูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายแบบทุนนิยมโดยการบริหาร
จัดการจากรัฐ ที่มีความคาดหวังว่าจะท าให้เศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโต ให้เป็นแบบ “American
Dream”
และงานสุดท้ายคือ รายงานการวิจัยความเหลื่อมล้ าในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบาย และแนวทาง
60
ั
ื่
ขับเคลื่อนนโยบาย โดย สมชัย จิตสุชน จากสถาบันวิจัยเพอการพฒนาประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ใน
ื่
การอภิปรายปัญหาความเหลื่อมล้ าในประเทศไทยและเสนอแนะแนวทางในการปฏิรูปนโยบายเพอลดความ
เหลื่อมล้ า อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวข้องต่องานวิจัยนี้คือประเด็นเรื่อง แนวโน้มความเหลื่อมล้ าใน
61
ต่างประเทศ ซึ่งในที่นี้ สมชัย ได้อ้างถึง ค าอธิบายขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ิ่
(Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) ที่เป็นไปได้ส าหรับการเพมขึ้น
ั
ของความเหลื่อมล้ าอนประกอบด้วย 1) โลกาภิวัตน์ ซึ่งบางกระบวนการของโลกาภิวัตน์ได้สร้างโอกาสทาง
เศรษฐกิจที่มากกว่าให้กับผู้ที่มีความพร้อมทางด้านทุนทรัพย์ ความรู้ความสามารถ และการเข้าถึงแหล่งเงินทุน
2) การปฏิรูปกฎระเบียบทางเศรษฐกิจ เพอให้ระบบตลาดท้างานได้ดียิ่งขึ้น ทว่าในขณะเดียวกัน แรงงานและ
ื่
ิ่
ผู้ประกอบการที่มีความพร้อมกว่าก็ได้รับประโยชน์จากพลวัตรทางเศรษฐกิจที่เพมขึ้นมากกว่าเช่นกัน 3)
โครงสร้างครอบครัวที่เปลี่ยนไปในลักษณะที่มีครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว (single-parented families) หรือ
ครอบครัวที่ไม่มีคู่สมรสมากขึ้น และการจับคู่แต่งงานกันระหว่างผู้มีรายได้ใกล้เคียงกัน หรือที่เรียกว่า
assortative mating ซึ่งครอบครัวลักษณะแรกมักจะมีรายได้ต่ ากว่าครอบครัวทั่วไป รวมทั้งความเสี่ยงด้าน
เศรษฐกิจด้วย ส่วนครอบครัวลักษณะที่สอง ก็มีผลท าให้การเลื่อนชั้นทางสังคม (social mobility) ลดลง การ
เลื่อนชั้นทางเศรษฐกิจผ่านการแต่งงานมีโอกาสน้อยลง และท าให้ความเหลื่อมล ามีมากกว่าในกรณีที่การจับคู่
แต่งงานเป็นไปอย่างสุ่ม (random) มากกว่า และ 4) ความเหลื่อมล้ า ที่เพิ่มขึ้นของผลตอบแทนของทุน สังหา
และอสังหาริมทรัพย์ รวมทั้งการออมและการลงทุน ซึ่งซ้ าเติมความเหลื่อมล้ าที่เพมขึ้นของรายได้จากค่าแรง
ิ่
และเงินเดือนจากเหตุผลก่อนหน้า ความเป็นไปได้ทั้งหมดนี้เป็นผลมาจากทุนนิยมที่อาจกล่าวได้ว่า หาก
ิ่
เศรษฐกิจโลกยังขับเคลื่อนด้วยระบอบทุนนิยมความเหลื่อมล้ าก็จะเพมขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
กำรวิเครำะห์ภำพยนตร์เรื่อง ซูโทเปีย กับบริบททำงสังคมตำมควำมเป็นจริง
วรรณกรรมในส่วนแรกเป็นบทความของ Dan Hassler‐Forest เรื่อง “Life Isn't Some Cartoon
Musical”: Neoliberal Identity Politics in Zootopia and Orange Is the New Black ซึ่งเป็นการใช้
62
ั
แนวคิดอตลักษณ์ทางเสรีนิยมใหม่ทางการเมืองมาวิเคราะห์การน าเสนอสื่อของวงการภาพยนตร์ของ
สหรัฐอเมริกาโดยผ่านสื่อภาพยนตร์กระแสหลัก หรือภาพยนตร์ที่เป็นที่นิยมของคนจ านวนมาก (mass
media) เรื่อง ซูโทเปีย ของ Disney กับสื่อภาพยนตร์กระแสรอง หรือภาพยนตร์ส าหรับเฉพาะกลุ่มคนดู
(niche media) เรื่อง Orange Is the New Black ของ Netflix ซึ่งทั้งสองเรื่องแสดงถึงทิศทางการน าเสนอ
เรื่องของวงการภาพยนตร์ที่เปลี่ยนแปลงไปโดยที่มีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นเสรีนิยมใหม่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งนี้
ในศตวรรษที่ 21 อุตสาหกรรมภาพยนตร์ได้เปลี่ยนแปลงบริบทการน าเสนอเรื่องราวในเชิงการต่อต้านทุนนิยม
ุ
มากขึ้น มีประเด็นเรื่องการเมืองและค่านิยมเชิงอดมการณ์ที่หลากหลายขึ้น ดังเช่นภาพยนตร์ 2 เรื่องนี้
ั
น าเสนอทัศนคติที่ก้าวหน้าต่ออตลักษณ์ทางการเมืองโดยมียุทธศาสตร์การน าเสนอถึงเรื่องเชื้อชาติและเพศ
โดยที่ภาพยนตร์ต้องการที่จะใช้ตัวละครหลักเป็นเพศหญิงที่ต้องการปลุกกระแสการสนับสนุนสิทธิสตรี ความ
60 สมชัย จิตสุชน, “รายงานการวิจัยความเหลื่อมล้ าในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบาย และแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย,” 2558, สถาบันวิจัยเพื่อ
การพัฒนาประเทศไทย, https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2017/06/Synthesis-Report-Year-2-Inclusive-Growth.pdf (15
กันยายน 2562).
61 สมชัย จิตสุชน, “รายงานการวิจัยความเหลื่อมล้ าในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบาย และแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย,”12.
62 Dan Hassler-Forest, “Life Isn’t Some Cartoon Musical: Neoliberal Identity Politics in Zootopia and Orange Is the New
Black.”
192