Page 224 - thaipaat_Stou_2563
P. 224
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ค ำส ำคัญ การประเมินผล เรือนจ าอ าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
บทน ำ
1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ
การราชทัณฑ์ของไทยได้มีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับสังคม การเมือง และสภาพ
เศรษฐกิจตลอดยุคสมัยที่ผ่านมา ตั้งแต่ในยุคก่อนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการ
เรือนจ าได้สังกัดอยู่ตามส่วนราชการต่างๆ สอดคล้องกับการปกครองแบบจตุสดมภ์ มีการแบ่งเป็นเรือนจ าใน
กรุงเทพฯ และเรือนจ าในหัวเมืองชั้นนอกเรือนจ าในกรุงเทพฯออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) สังกัดกระทรวงนคร
บาลเป็นที่คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป เรียกว่า “คุก” 2) สังกัดกระทรวง ทบวง กรมที่บังคับ
กิจการนั้นๆ ใช้เป็นที่คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษต่ ากว่า 6 เดือน หรือนักโทษที่มิใช่ผู้ร้าย เรียกว่า “ตะราง” ส่วนการ
เรือนจ าในหัวเมืองชั้นนอก มีที่คุมขัง ผู้ต้องโทษเรียกว่า “ตะราง” การคุมขังอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ว่า
ราชการเมืองหรืออาจส่งต่อให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม รับตัวไปคุมขังแล้วแต่กรณี
ั
กรมราชทัณฑ์มีภารกิจเกี่ยวกับการควบคุมและแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยมุ่งพฒนาเป็นองค์กร
ื่
ั
ู
พฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพอแก้ไขฟนฟผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นพลเมืองดี มีสุขภาพกายและจิตที่ดีไม่หวน
ื้
ั
กลับมากระท าผิดซ้ า ได้รับการพฒนาทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพที่สุจริตและสามารถด ารงชีวิตในสังคม
ภายนอกได้อย่างเป็นปกติสุข โดยสังคมให้การยอมรับซึ่งกรมราชทัณฑมีอานาจหน้าที่ในการปฏิบัติต่อผู้กระท า
์
ผิดให้เป็นไปตามค าพพากษาของศาลหรือการบังคับคดีซึ่งด าเนินการโดยเจ้าพนักงานเรือนจ า กล่าวคือ
ิ
เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับคดีโดยตรงดังเช่น ต ารวจ อยการและศาล แต่กรมราชทัณฑ์เข้ามา
ั
ิ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมในฐานะที่ต้องบังคับคดีให้เป็นไปตามค าพพากษาของศาลในคดีอาญา
ส าหรับการบังคับคดีตามค าพพากษาในกรณีที่ศาลพพากษาให้ลงโทษจ าคุกจ าเลย เจ้าพนักงานเรือนจ าจะ
ิ
ิ
ิ
ด าเนินการกับจ าเลยตามค าพพากษาของศาลโดยมีวัตถุประสงค์ คือ การควบคุมตัวไว้ไม่ให้หนีและลงโทษ และ
มีหน้าที่ในการแก้ไขพฒนาพฤตินิสัย ซึ่งเรือนจ าอาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เป็นหน่วยงานที่อยู่ในสังกัด
ั
กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เริ่มเปิดด าเนินการ เมื่อ
วันที่ 24 กันยายน 2550 โดยมีนางมะลิวัลย์ พูนขวัญ เป็นผู้บัญชาการเรือนจ าเป็นคนแรก
อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาผลการด าเนินงานที่ผ่านมาพบว่าการบริหารจัดการของเรือนจ าอาเภอชัย
บาดาล จังหวัดลพบุรี ได้ประสบกับปัญหาหลายด้าน เช่น 1) เรือนจ ามีความแออัด ส่งผลให้ให้การควบคุมดูแล
ไม่ทั่วถึง เพราะอตราเจ้าหน้าที่ไม่เพยงพอ 2) จ านวนผู้ต้องขังมากกว่าอตราที่เรือนจ าสามารถรับได้ 3) การ
ี
ั
ั
ปฏิบัติภารกิจหลายด้านของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งความตรากตร าในการอยู่เวรยาม ส่งผลต่อประสิทธิภาพและการ
ปฏิบัติงานโดยรวม และ4) การขาดการถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการท างานภายใน การจัดโครงสร้าง
ื่
ั
องค์การ การประสานงานระหว่างบุคลากร เพอให้ทราบถึงปัญหา อปสรรค ตลอดจนหาแนวทางการพฒนา
ุ
เรือนจ าอ าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ที่มีปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่อง “การ
ประเมินผลการด าเนินงานของเรือนจ าอาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี” โดยศึกษาการประเมินผลการ
ด าเนินงานของหน่วยงาน ศึกษาปัญหาการด าเนินงาน ตลอดจนศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ปรับปรุงการด าเนินงานของหน่วยงาน และเพอการด าเนินงานด้านการการควบคุมและพฒนาพฤตินิสัย
ื่
ั
ผู้ต้องขังที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลที่เป็นประโยชน์ และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ที่ว่ากรมราชทัณฑ์เป็นองค์กร
ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังเพอคืนคนดี มีคุณค่า สู่สังคม
ื่
2. วัตถุประสงค์กำรวิจัย
2.1 เพอประเมินผลการด าเนินงานของเรือนจ าอาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ในด้านการเงิน ด้าน
ื่
กระบวนการภายใน ด้านประชาชนผู้รับบริการ และด้านการเรียนรู้และการพัฒนา
2.2 เพื่อศึกษาปัญหาในการด าเนินงานของเรือนจ าอ าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
222