Page 34 - thaipaat_Stou_2563
P. 34

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               2012: 1) 4) ควรทบทวนและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับระบบการจัดสวัสดิการให้เหมาะสม โดย
                                                              ่
               กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.
                                               ิ
               2541 พระราชบัญญัติจัดตั้งและวิธีพจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
               และกฎหมายฝ่ายบริหารจ านวน 1 ฉบับ คือ ประกาศกระทรวงแรงงานฉบับลงวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2547
               เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครองการส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในการ
               ประกอบอาชีพหรืออาชีพที่เหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับมาดี ลิ่มสกุล (2558: 28) ที่ได้ท าการวิจัยเรื่อง

               กฎหมายกลางว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย ผลการวิจัย พบว่า กฎหมายสวัสดิการของไทยมี
               ข้อจ ากัดด้านบทบัญญัติเชิงบริหารจัดการ และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับกฎหมายต่างประเทศ
               ใน 9 ประเด็น ได้แก่ เจตนารมณ์ของกฎหมายสวัสดิการสังคม โครงสร้างคณะกรรมการสวัสดิการสังคมใน

               ระดับชาติและระดับท้องถิ่น อานาจหน้าที่คณะกรรมการสวัสดิการสังคมในระดับชาติและระดับท้องถิ่น

               หน่วยงานและอานาจหน้าที่ด้านการปฏิบัติของรัฐ การก าหนดกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้บริการ การบริหารกองทุน
               ด้านสวัสดิการสังคม การตรวจสอบการท างานของคณะกรรมการสวัสดิการสังคม การมีส่วนร่วมของประชาชน
               ในกฎหมายสวัสดิการสังคม ควรปรับปรุงทั้ง 9 ประเด็น ทั้งนี้ในงานวิจัยของฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ (2558:
               149) ที่ได้อธิบายถึงกลไกการพัฒนานโยบายส าหรับผู้สูงอายุของประเทศไทย มี 3 ระดับ คือ 1) ในระดับชาติ

                                                                                  ั
               มีคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติที่ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2549 ตามแนวทางการพฒนานโยบายแบบบูรณาการ
               ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) ในระดับกระทรวง กระทรวงที่เป็นหลักในการจัดบริการส าหรับ
                                                            ั
               ผู้สูงอายุคือ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงพฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ และ 3) ในระดับ
                                             ั
               ปฏิบัติการ หน่วยงานส่วนภูมิภาคพฒนาบริการตามกรอบและการสนับสนุนวิชาการ จากหน่วยงานส่วนกลาง
               ภาพรวมจากกฎหมายสู่การจัดการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุต้องท าแบบองค์รวม และบูรณาการทั้งในมิติด้าน
               สังคม เศรษฐกิจและการเมือง การจัดการความเข้มแขงชุมชนให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุโดยส่งเสริม
                                                           ็
               และพัฒนาบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ


                                                         บทสรุป
                       ความเป็นสังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์มีผลกระทบในระดับมหภาค ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
               (GDP) การจ้างงาน/ผลิตภาพแรงงาน และผลกระทบในระดับจุลภาค ได้แก่ ขาดแรงงานในธุรกิจบริการ ขาด

               แรงงานส าหรับชีวิตประจ าวัน (เช่น แม่บ้าน คนขับรถ ก่อสร้าง เป็นต้น) ฯลฯ ดังนั้นทิศทางการพัฒนาคุณภาพ
               ชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางสังคมผู้ก าหนดนโยบายควรมีการจัดท าทะเบียน
               ผู้สูงอายุ ก าหนดมาตรฐานการให้บริการ และจัดบริการที่สามารถตอบสนองการด ารงชีวิตของผู้สูงอายุ โดย
               จัดสรรทรัพยากรที่เพยงพอในการด าเนินงานการส่งเสริมและพฒนากลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมและขยายโอกาส
                                                                    ั
                                 ี
               การท างานของผู้สูงอายุ ขยายอายุเกษียณการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม สะดวก ปลอดภัยให้กับผู้สูงอายุ
               โดยบูรณาการร่วมกับการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ตลอดจนท าการศึกษาวิจัยเรื่องกฎหมายสวัสดิการ
               ของไทยการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะที่ท าหน้าที่ดูแลงานด้านผู้สูงอายุ การศึกษาแนวทางการจ้างงานผู้สูงอายุ
               และปัญหาอปสรรคในการน ามาตรการต่าง ๆ เช่น การลดหย่อนภาษี การส่งเสริมการพฒนาเครื่องจักรหรือ
                                                                                         ั
                          ุ
               สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับการท างานของผู้สูงอายุ การเลื่อนการเกษียณอายุมาใช้ในสถานประกอบการเพอ
                                                                                                        ื่
               ประโยชน์ต่อการพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและน าไปสู่การก าหนดนโยบายและการน านโยบายด้าน
                               ั
               ผู้สูงอายุไปใช้ได้อย่างเหมาะสม




                                                                                                       32
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39