Page 301 - thaipaat_Stou_2563
P. 301

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                          บทน ำ
                                                                                                       ื้
                          กรุงเทพมหานครในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลพนที่
               กรุงเทพมหานครทั้งหมดโดยมีหน้าที่หลักในการรับผิดชอบให้บริการประชาชนตั้งแต่เกิดจนกระทั้งเสียชีวิตและเป็น
               เมืองที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย มีส่วนราชการประกอบด้วย 16 ส านัก 1 ส านักงานคณะกรรมการ
               ข้าราชการกรุงเทพมหานครและ 50 ส านักงานเขต ดังนั้น การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จึงมี
                                                                                                        ี
               ปริมาณที่มากและหลากหลายประเภท มีความยุ่งยากซับซ้อน จ าเป็นต้องมีบุคลากรที่มีคุณภาพและจ านวนเพยง
               พอที่จะปฏิบัติงานให้มีความคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งระยะเวลาในช่วงปี พ.ศ. 2559 – 2562 ส านักงาน
               เขตปทุมวันซึ่งเป็น 1 ใน 50 ส านักงานเขตในการปกครองของกรุงเทพมหานครมีการสูญเสียอัตราก าลังข้าราชการใน
                                                              ั
               สังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน อยู่ตลอดเวลาในอตราส่วนที่สูงมากพอสมควร ไม่ว่าจะเป็นการโอนย้ายไป
               ยังหน่วยงานนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร การย้ายภายในส่วนราชการสังกัดส านักงานเขตปทุมวัน การย้ายระหว่าง

                                                         ึ่
               หน่วยงานสังกดกรุงเทพมหานคร และการลาออกซงระหว่างปี พ.ศ. 2559 – 2562 (ขอมูล ณ เดือนมิถุนายน
                           ั
                                                                                       ้
                                     ั
               2562) พบว่าการสูญเสียอตราก าลังของข้าราชการจากทั้งหมด 16 อตราในปี พ.ศ. 2559 มีข้าราชการย้าย 5 คน
                                                                      ั
               ลาออก 2 คน รวม 7 คน และมีข้าราชการขอย้ายทั้งสิ้น 8 คน ในปี พ.ศ. 2560 มีข้าราชการย้าย 3 คน และมี
               ข้าราชการขอย้ายทั้งสิ้น 6 คน ในปี พ.ศ. 2561 มีข้าราชการย้าย 4 คน และมีข้าราชการขอย้ายทั้งสิ้น 9 คน ในปี
               พ.ศ. 2562 (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2562) มีข้าราชการย้าย 3 คนและมีข้าราชการขอย้ายทั้งสิ้น6 คน จากความ
               เป็นมาและความส าคัญของปัญหาที่ได้กล่าวมาในข้างต้นจะเห็นได้ว่าสาเหตุการย้ายของข้าราชการเป็นสาเหตุหลักใน
               การสูญเสียอตราก าลังของฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวันตั้งแต่ปี 2559 – 2562 ซึ่งการสูญเสียอตราก าลัง
                                                                                                  ั
                          ั
               ข้าราชการในสังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ที่มีหน้าที่ใน 2 ส่วนหลักคือด้านการให้บริการประชาชนและ
               ด้านการบริหารส านักงานนั้น จะท าให้มีประชาชนและภาคธุรกิจ จ านวนมากที่มาใช้บริการไม่ได้รับความสะดวก
               รวดเร็ว เท่าที่ควร กับทั้งยังส่งผลให้เกิดปัญหาตามมาไม่ว่าจะเป็นภาระงานในส่วนของการสนับสนุนงานผู้บริหาร งาน
                                         ิ
               บริหารส านักงาน ตลอดจนงานพธีการต่างๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน อย่าง
               หลีกเลี่ยงไม่ได้ อีกทั้งการเปิดรับสมัครข้าราชการใหม่นั้น ก็จะท าให้กรุงเทพมหานครจะต้องสูญเสียงบประมาณไปกับ

               การด าเนินการและการจัดอบรมให้ความรู้ให้กับข้าราชการใหม่แต่ละคนเป็นจ านวนมากพอสมควร ซึ่งหากสามารถ
               ทราบสาเหตุและแนวทางการป้องกันแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการตัดสินใจในการย้ายงานได้นั้นจะช่วยให้
               กรุงเทพมหานครประหยัดงบประมาณและเป็นการรักษาทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถไว้กับฝ่ายปกครอง

               ส านักงานเขตปทุมวัน ท าให้การบริการประชาชน การสนับสนุนงานผู้บริหาร ตลอดจนงานบริหารส านักงานของ
               ส านักงานเขตปทุมวัน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
                                                                              ื่
                      จากที่มาและความส าคัญของปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงสนใจค้นคว้าเพอศึกษาว่ามีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อการ
                                                 ื่
               ตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการ เพอจะได้น าเสนอแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการย้ายงานได้
               โดยมีการทบทวนวรรณกรรมส าคัญที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของ เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) ที่ได้
               อธิบายไว้ว่าในสภาวะที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแรงขับเคลื่อนจะเท่ากับกับแรงต่อต้านเกิดเป็นสภาวะสมดุล แต่ในเวลาที่
               ก าลังเกิดการเปลี่ยนแปลง แรงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงจะเกิดการปะทะกับแรง
               ต่อต้าน หากแรงขับเคลื่อนมากกว่าการเปลี่ยนแปลงก็เกิดความส าเร็จแต่หากแรงต่อต้านมากกว่าการเปลี่ยนแปลงก็

               จะไม่ส าเร็จ และทฤษฎีสองปัจจัย (Two-FactorTheory) ของเฟรเดอริก เฮอร์ซเบอร์ก (Ferderick Herzberg) ซึ่งได้
               อธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการท างานของบุคลากรในองค์การนั้นประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยจูงใจ ซึ่งเป็น
                                      ึ
               ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดความพงพอใจในการท างานซึ่งประกอบไปด้วย 1. ความส าเร็จในการท างาน 2. การได้รับการ
                                                                                               ื่
               ยอมรับนับถือ ชื่นชมและได้รับความเชื่อถือในผลการปฏิบัติงานจากผู้บังคับบัญชา และเพอนร่วมงาน
               3. ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 4. ลักษณะของงานที่ท า มีการท้าทายความสามารถ ไมน่าเบื่อ เป็นงานที่มี
                                                                                          ่
                                                                                                     299
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306