Page 308 - thaipaat_Stou_2563
P. 308

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                         ั
               ครอบครัวพกอาศัยอยู่ต่างจังหวัด และค่าตอบแทนที่ได้รับจากการปฏิบัติงานเป็นข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงาน
                                                ื้
                           ี
               ปทุมวัน ไม่เพยงพอเหมาะสมเนื่องจากพนที่เขตปทุมวันเป็นพนที่เศรษฐกิจและมีค่าครองชีพที่สูงในการด ารงชีวิต
                                                                 ื้
                         ี
               ประจ าวัน อกทั้งยังมีภารกิจต่างๆที่ต้องมาปฏิบัติงานในวันหยุดราชการโดยไม่ได้รับค่าล่วงเวลาแต่อย่างใด นั้น ขอ
               เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาประเด็นดังกล่าว เพื่อลดระยะเวลาในการเดินทางมาท างาน ค่าใช้จ่ายและภาระ
               ทางครอบครัวของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ตามความเห็นที่ได้จากผู้ถูกสัมภาษณ์ ดังนี้ 1) เพม
                                                                                                        ิ่
                    ิ่
               เงินเพมพเศษ หรือค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจให้กับข้าราชการสังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน
                       ิ

               โดยอาศัยอานาจตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร
               กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 หรือ 2) จัดหาที่พักอาศัยให้กับข้าราชการและบุคลากรของส านักงานเขตปทุมวันที่อยู่
               ใกล้กับส านักงานเขต หรือ 3) ให้ข้าราชการและบุคลากรส านักงานเขตปทุมวันสามารถเบิกค่าเช่าบ้านได้เช่นเดียวกับ
               ข้าราชการสังกัดหน่วยงานอื่น ซึ่งในส่วนของการด าเนินการในส่วนดังกล่าวในข้อที่ 1-2 นั้นเป็นหน้าที่ของส านักงาน

               เขตปทุมวันที่จะต้องเสนอขอความเห็นชอบกับหน่วยงานในระดับกรุงเทพมหานครต่อไปและในส่วนของข้อที่ 3 นั้น
               กรุงเทพมหานครจะต้องพิจารณาด าเนินการเสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาแก้กฎหมายต่อไป
                       2  มาตรการป้องกันในการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน
                            เนื่องจากการผลการวิจัยเอกสารประกอบกับผลการวิจัยภาคสนาม ที่ได้กล่าวมาข้างต้นพบว่า

               ข้าราชการที่ย้ายงานนั้นอยู่ในช่วงอายุงาน 1-5 ปีเป็นหลัก จึงขอเสนอแนะมาตรการป้องกันโดยอาศัยความสัมพันธ์
               อย่างไม่เป็นทางการในกลุ่มตามแนวคิดของเอลตัน เมโย ที่ส านักงานเขตปทุมวันสามารถด าเนินการได้เองโดยให้
               ผู้บริหารส านักงานเขตปทุมวันมอบหมายนโยบายและด าเนินการสร้างความสัมพันธ์ในองค์การให้มีความเอาใจใส่และ

                                                                                       ึ
               เข้าใจซึ่งกันและกัน อนจะก่อให้เกิดเป็นปัจจัยค้ าจุน ที่เป็นองค์ประกอบที่ป้องกันความไม่พงพอใจในการท างานของ
                                ั
               ข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ตามทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์กประการหนึ่ง
                       ข้อเสนอแนะเพื่อกำรวิจัยในอนำคต
                       1  การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบ
               เฉพาะเจาะจง จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น รักษาการในต าแหน่งหัวหน้าฝ่ายปกครองส านักงานเขตปทุมวัน หัวหน้ากลุ่ม

               งานบริหารทั่วไป นักทรัพยากรบุคคล ข้าราชการและอดีตข้าราชการที่ย้ายงาน ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 - 2562
               สังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน จ านวน 9 คน การศึกษาในครั้งนี้จึงเป็นเพยงกรณีศึกษาเท่านั้น ดังนั้นจึง
                                                                                  ี
               ควรมีการวิจัยเพมเติมโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ และใช้กลุ่มตัวอย่างเพมเติม ซึ่งรวมไปถึงลูกจ้างที่สังกดฝ่าย
                                                                           ิ่
                                                                                                     ั
                             ิ่
               ปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ในการให้ข้อมูลเพอให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เพมขึ้นและมีความเกี่ยวข้องกับฝ่ายปกครอง
                                                                         ิ่
                                                      ื่
               ส านักงานเขตปทุมวัน ซึ่งสามารถสะท้อนภาพรวมของการศึกษาประชากรได้อย่างถูกต้องชัดเจนมากยิ่งขึ้น
                       2  เนื่องจากประเด็นส าคัญที่เป็นปัจจัยในการตัดสินใจย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขต
               ปทุมวัน นั้นส่วนใหญ่จากการวิจัยครั้งนี้พบว่ามีที่มาจากปัญหาที่เกี่ยวเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้าน

               เศรษฐกิจในพนที่เขตปทุมวันและเรื่องค่าตอบแทน การวิจัยครั้งต่อไปจึงเห็นควรเน้นประเด็นเกี่ยวกับปัจจัยทางด้าน
                          ื้
               เศรษฐกิจในพนที่เขตปทุมวันที่มีผลต่อการตัดสินใจย้ายงานของข้าราชการ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวันและ
                          ื้
               เน้นในประเด็นเกี่ยวกับค่าตอบแทนของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน จะท าให้ทราบถึงสาเหตุของ
               ปัญหาที่ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นตลอดจนสามารถหาแนวทางในการแก้ไขและป้องกันการย้ายงานที่เกิดจากสาเหตุดังกล่าวได้

               ชัดเจนยิ่งขึ้น






                                                                                                     306
   303   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313