Page 304 - thaipaat_Stou_2563
P. 304
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
่
กลุ่มที่ 2 ได้แก รักษาการในต าแหน่งหัวหน้าฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน หัวหน้ากลุ่มงาน
บริหารทั่วไป และนักทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นตัวแทนในมุมมองของผู้บังคับบัญชาในระดับต้นและเจ้าหน้าที่ที่ท า
หน้าที่ด้านทรัพยากรบุคคล
กลุ่มที่ 3 ได้แก่ ข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน จ านวน 3 คนซึ่งเป็นตัวแทนในมุมมอง
ของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวันในปัจจุบัน
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยกรณีศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสัมภาษณ์
โดยสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) ลักษณะของการสัมภาษณ์เป็นการสัมภาษณ์ที่มีค าถาม 2
ส่วน ประกอบด้วยส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ และส่วนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยจูงใจและปัจจัย
ค้ าจุน ตามทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factor Theory) ของเฟรดเดอร์ริค เฮอร์ซเบอร์ก (Frederick Herzberg) ที่มีผล
ต่อการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน โดยข้อค าถามในแต่ละข้อจะเป็นไป
ตามกรอบแนวคิดการวิจัยจ านวนค าถาม 9 ข้อโดยมีการตรวจสอบค่าความสอดคล้อง (Validity) ของเครื่องมือที่ใช้
เก็บข้อมูลและมีผลการตรวจสอบ พบว่าค าถามในแบบสัมภาษณ์ได้รับการตรวจจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน โดยมีค่า IOC
= 0.82 ซึ่งถือว่ามีค่าเกิน 0.50 จึงสามารถน าไปใช้เก็บข้อมูลได้จริง
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลในการท าการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผู้วิจัยมี
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ ดังนี้
1 น าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาแยกประเด็นตามแต่ละประเด็นตามกรอบแนวคิดการวิจัยแล้วน ามา
เปรียบเทียบความเหมือนหรือความแตกต่างของผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละคนก่อนจะน าข้อมูลนั้นไปวิเคราะห์
2 น าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ที่แยกประเด็นตามกรอบแนวคิดการวิจัยแล้วน ามาเปรียบเทียบกับ
ั
ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพอจะได้ทราบถึงลักษณะที่มีความคล้ายคลึงกนและแตกต่างกนของข้อมูล ก่อนจะน า
ั
ื่
ข้อมูลนั้นไปวิเคราะห์
3 น าข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบมาท าการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน เพอสรุปผลการวิจัย โดยใช้การ
ื่
น าเสนอผลการวิจัยในรูปพรรณนา
ผลกำรวิจัย
ผลกำรวิจัยเอกสำร (Documentary research)
จากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาข้อมูลจากค าสั่งกรุงเทพมหานครและค าสั่งส านักงานเขตปทุมวันเรื่องย้ายข้าราชการ
สังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในช่วงปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2562 (ข้อมูล ถึง
เดือนมิถุนายน 2562) พบว่ามีข้าราชการที่ย้ายงานจ านวน 15 คน เป็นการย้ายงานไปสังกัดยังหน่วยงานนอกสังกัด
ส านักงานเขตปทุมวันจ านวน 11 คนคิดเป็นร้อยละ 73.33 เป็นการย้ายไปสังกัดส่วนราชการอื่นสังกัดส านักงานเขต
ปทุมวันจ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67 เป็นเพศชายร้อยละ 40 เป็นเพศหญิงร้อยละ 60 ส่วนใหญ่มีอายุอยู่
ระหว่าง 30-40 ปี สมรสแล้วมากถึงร้อยละ 60 และจากข้อมูลหนังสือขอย้ายของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงาน
ื่
ื่
เขตปทุมวัน พบว่ามีเหตุผลหลัก ในการขอย้าย คือเพอสะดวกในการเดินทางในการมาปฏิบัติงานเพอประหยัด
ค่าใช้จ่ายและเพอเพมพนความรู้ความสามารถของตนเองตามล าดับ ซึ่งกจะแสดงให้เห็นถึงปัจจัยที่มีผลต่อการ
็
ื่
ิ่
ู
ตัดสินใจในการย้ายงานที่ส าคัญ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์กในปัจจัยค้ าจุนที่เกี่ยวกับ
สถานภาพของต าแหน่งงาน ค่าตอบแทน และชีวิตส่วนตัว
302