Page 303 - thaipaat_Stou_2563
P. 303

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                        จากการทบทวนวรรณกรรมและวัตถุประสงค์การวิจัยที่กล่าวมาแล้ว  ผู้ศึกษาจึงเสนอกรอบแนวคิดการวิจัย
               ดังนี้

                                     แนวคิดที่ใช้ในกำรศึกษำ                               ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษา
                 1. ปัจจัยจูงใจ              2. ปัจจัยค้ าจุน
                 1) ความส าเร็จในการท างาน   1) นโยบายและการบริหารขององค์การ       1. การตัดสินใจในการย้ายงานของ
                 2) การได้รับการยอมรับนับถือ   2) การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล   ข้าราชการ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขต
                                                 า
                 3) ความก้าวหน้าในหน้าที่                 สัมพันธ์ระหว่างบุคคล     ปทุมวันกรุงเทพมหานคร

                                               ค
                                                  ม
                                                ว
                                             3)
                 การงาน                      4) ต าแหน่งงาน                        2.แนวทางในการป้องกันและแกไขปัญหา
                                                                                                           ้
                 4) ลักษณะของงานที่ท า       5ความมั่นคงในการท างาน  (

                 5) ความรับผิดชอบ            6 ชีวิตส่วนตัว  (7สภาพการท างาน   (   การย้ายงานของข้าราชการ
                                             8ค่าตอบแทน  (                         ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน
                                                                                   กรุงเทพมหานคร
                                                ภำพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

               ขอบเขตของกำรวิจัย

                          ประกอบด้วยขอบเขต 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านประชากร และด้านระยะเวลา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
                         1 ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยด้านการจูงใจและค้ าจุนตามทฤษฎีสองปัจจัย
               ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน

                         2.ขอบเขตด้านประชากร เลือกหน่วยงานกรณีศึกษาคือ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน
               กรุงเทพมหานคร โดยผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive
               sampling) ท าการเก็บข้อมูลโดยแยกเก็บจาก 3 มุมมอง มีกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 9 คน

                         3.ขอบเขตด้านระยะเวลา ศึกษาทฤษฎีสองปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการ
               ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเก็บข้อมูลการย้ายงานในช่วงระยะเวลา 4 ปี คือ ช่วงปี พ.ศ.
               2559 – 2562 และในการเก็บข้อมูล เป็นการเก็บในช่วงระยะเวลา 3 เดือน คือ ช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม –
               กรกฎาคม 2562 และท าการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 9 คน ในระหว่างวันที่ 11 กรกฎาคม -
               18 กรกฎาคม 2562



                                                     วิธีด ำเนินกำรวิจัย
                         ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
                          ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น ข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวันจ านวน 15 คน และ

               ข้าราชการที่เคยรับราชการสังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ในช่วงปี พ.ศ. 2559 – 2562 จ านวน 15 คน
               รวมประชากรทั้งสิ้น 30 คนโดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่ม
               ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) โดยจะเลือกจากผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งสามฝ่าย ท าการเก็บข้อมูล
               โดยแยกเก็บจาก 3 มุมมองโดยมีกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 9 คน ประกอบด้วย

                         กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ข้าราชการที่เคยรับราชการสังกัดฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน และย้ายงานในช่วง
               ปี พ.ศ. 2559 - 2562 จ านวน 3 คน ซึ่งเป็นตัวแทนในมุมมองของข้าราชการที่ย้ายงาน






                                                                                                     301
   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308