Page 306 - thaipaat_Stou_2563
P. 306

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                              3) นโยบายและการบริหารขององค์การ อยู่ในระดับที่ค่อนข้างมีข้อจ ากัดในเรื่องของอตราก าลัง
                                                                                                  ั
               เนื่องจากฝ่ายปกครอง มีหน้าที่เปรียบเสมือนฝ่ายเลขานุการของส านักงานเขตจึงมีภารกิจที่หลากหลายและมักจะ

               ได้รับมอบหมายภารกิจที่ไม่อยู่ในอ านาจของฝ่ายใดให้เป็นหน้าที่ของฝ่ายปกครองอยู่เสมอๆ
                                                                                                ิ่
                              4) ต าแหน่งงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ได้มีทักษะที่เพมมากขึ้นใน
               ต าแหน่งวิชาชีพของตนเองจากการปฏิบัติงานที่ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน แต่การได้รับการฝึกอบรมใน
               ช่วงแรกของการบรรจุเข้ารับราชการเพื่อเพิ่มทักษะในวิชาชีพยังค่อนข้างน้อย

                                         ั
                              5) ความสัมพนธ์ระหว่างบุคคลของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวันเห็นว่า
                        ั
                                                                                             ื่
               ความสัมพนธ์ของเพอนร่วมงานในฝ่ายปกครองอยู่ในระดับที่ค่อนข้างดี แต่กับผู้บังคับบัญชาและเพอนร่วมงานฝ่าย
                               ื่
                 ื่
               อนๆ ขึ้นอยู่ว่าบุคคลเหล่านั้นมีทัศนคติอย่างไรต่อฝ่ายปกครองซึ่งในบางครั้งก็มีการกระทบกระทั้งกันบ้างในความ
               คิดเห็นและการประสานงานกับฝ่ายอนในส านักงานเขตท าให้ในบางครั้งงานไม่ราบรื่น และเกิดอปสรรคที่ต้องแก้ไข
                                             ื่
                                                                                           ุ
               ปัญหาเฉพาะหน้า และเกิดความกดดันบ่อยครั้ง
                              6) การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแลของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ขึ้นอยู่
               กับทัศนคติของผู้บริหารในแต่ละยุคสมัยหากผู้บริหารมีความเข้าใจในเนื้องานของฝ่ายปกครอง แต่ผู้บังคับบัญชา
               ส่วนใหญ่มักจะมอบหมายภารกิจที่ไม่ได้ก าหนดว่าเป็นของส่วนราชการใดโดยเฉพาะและภารกิจส่วนรวมให้กับ

               ฝ่ายปกครองอยู่เสมอๆ ท าให้ข้าราชการฝ่ายปกครองต้องรับผิดชอบภาระงาน ที่เพิ่มมากขึ้น
                              การวิจัยพบว่าปัจจัยค้ าจุนที่เป็นแรงต้านในเกิดการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการ ฝ่าย
               ปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน โดยเรียงล าดับจากมากไปหาน้อย มีดังนี้

                              1) ความมั่นคงในการท างาน เห็นว่าการรับราชการที่ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน มีความ
               มั่นคงสามารถยึดถือเป็นอาชีพได้
                              2) สภาพการท างาน เนื่องจากส านักงานเขตปทุมวันในปัจจุบันเป็นอาคารเช่าแต่มีการแบ่งสัดส่วน
               อย่างชัดเจนจึงมีความสะดวกสบายในด้านการให้บริการประชาชน สถานที่ท างานพอสมควร และมีเครื่องมือที่ใช้ใน
               การปฏิบัติงานที่มีความเหมาะสมเพียงพอ

                         อภิปรำยผลกำรวิจัย
                         จากผลการศึกษา จะพบว่า ความเห็นของผู้ถูกสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการย้าย
               งานของข้าราชการ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน นั้นปัจจัยจูงใจได้แก่ ความส าเร็จในการท างาน การได้รับ

               ยอมรับนับถือ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ลักษณะของงานที่ท าและความรับผิดชอบ และปัจจัยค้ าจุน ได้แก่
               นโยบายและการบริหารขององค์การ การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ต าแหน่งงาน
               ชีวิตส่วนตัวและค่าตอบแทน มีผลต่อการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน
               และเมื่อน ามาประกอบกับผลการวิจัยเอกสารที่พบว่ามีเหตุผลหลักในการขอย้าย คือเพื่อสะดวกในการเดินทางในการ

                                                 ื่
               มาปฏิบัติงาน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายและเพอเพิ่มพูนความรู้ความสามารถของตนเองตามล าดับ ซึ่งอาจสามารถกล่าว
               โดยสรุปได้ว่าปัจจัยส่วนใหญ่ที่ผลักดันในการตัดสินใจย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน เป็น
                                                                     ึ
               ปัจจัยที่เกิดจากปัจจัยค้ าจุนที่เป็นองค์ประกอบที่ป้องกันความไม่พงพอใจในการท างาน มากกว่าปัจจัยจูงใจที่เป็น
               องค์ประกอบที่กระตุ้นให้เกิดความพอใจในการท างาน ตามทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก (Herzberg)

                       ข้อเสนอแนะ
                       ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในป้องกันและแก้ไขปัญหาการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงาน
               เขตปทุมวัน มีดังต่อไปนี้
                       1 วิธีการแก้ไขปัญหาการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน




                                                                                                     304
   301   302   303   304   305   306   307   308   309   310   311