Page 338 - thaipaat_Stou_2563
P. 338

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                               ุ
               บุคลากรเป็นผู้ก าหนดให้มีโครงสร้างขององค์การ วัสดุอปกรณ์ สิ่งแวดล้อมการบริหารองค์การ ดังนั้นหาก
                                             ุ
               องค์การใดขาดทรัพยากรมนุษย์ที่มีคณภาพแล้ว องค์การนั้นยากที่จะอยู่รอดและก้าวหน้าไปได้ทุกๆ องค์การจึง
                                                                                      ื่
               ให้ความส าคัญกับปัจจัยมนุษย์ ตั้งแต่การสรรหา การคัดเลือก และการปฐมนิเทศ เพอให้ได้บุคลากรที่ดีที่สุด
                                                                                             ั
               มาร่วมงานในองค์การ บุคลากรเมื่อปฏิบัติงานในองค์การมาระยะหนึ่ง ย่อมต้องการได้รับการพฒนา เนื่องจาก
                                                                                                        ิ่
               บุคลากรต้องการความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน เช่น ต้องการเลื่อนต าแหน่ง เลื่อนระดับ หรือ ต้องการเพม
               ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน (นงนุช วงษ์สุวรรณ, 2553) เพอเป็นการรักษาบุคลากรให้อยู่กับองค์การ
                                                                     ื่
               องค์การจึงหันมาให้ความสนใจกับการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการท างานของบุคลากร
                       คุณภาพชีวิตการท างานนั้น เริ่มมาจากการปรับปรุงการท างานเพอให้บรรลุจุดมุ่งหมายของงานหรือ
                                                                             ื่
               องค์การโดยให้การท างานนั้นเป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ซึ่งแนวคิดในการท างานเพอให้เกิด
                                                                                                   ื่
               คุณภาพและประสิทธิภาพนี้ได้วิวัฒนาการมาจากแนวคิดทางการบริหารในอดีตที่พฒนาเป็นล าดับต่อเนื่อง
                                                                                      ั
               ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่างานเป็นสิ่งส าคัญต่อชีวิต เนื่องจากการท างานนั้นมีความสัมพนธ์โดยตรง
                                                                                                ั
               ต่อการสนองความต้องการพนฐานที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต ดังนั้น การได้ท างานที่เหมาะสม ประกอบกับ
                                        ื้
               องค์การมีการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ให้ความส าคัญกับคน จึงเป็นสิ่งส าคัญที่จะช่วยให้บุคคลมีคณภาพชีวิตที่
                                                                                               ุ
               ดีได้ จากแนวคิดของ วอลตัน (Walton, 1974) คุณภาพชีวิตการท างานเป็นลักษณะการท างานที่ตอบสนอง

               ความต้องการและความปรารถนาของบุคคล โดยพิจารณาคุณลักษณะแนวทางความเป็นบุคคล สภาพตัวบุคคล
               หรือสังคม เรื่องสังคมขององค์การ ที่ท าให้งานประสบความส าเร็จ ซึ่งสามารถวัดได้จากเกณฑ์ชี้วัด 8 ประการ
                                ี
               คือ ค่าตอบแทนที่เพยงพอและยุติธรรม สภาพการท างานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ โอกาสในการพฒนา
                                                                                                      ั
                                                                          ั
               สมรรถภาพของบุคคล ความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน ความสัมพนธ์กับบุคคลอื่นและการท างานร่วมกัน
               สิทธิส่วนบุคคล จังหวะชีวิตโดยส่วนรวม และการค านึงถึงความเป็นประโยชน์ต่อสังคม
                       คุณภาพชีวิตการท างาน หมายถึง ความต้องการของบุคลากรทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และการ
               ด าเนินชีวิตในประจ าวันอย่างพงพอใจ ที่ได้รับการตอบสนองความต้องการจากองค์การอย่างถึงที่สุด ท าให้รับรู้
                                         ึ
               ได้ถึงการมีความสุขในการท างาน จนเกิดเป็นความสมดุลในชีวิตที่จะส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติงาน รวม

               ไปถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของบุคลากรและองค์การ ในมิติคุณภาพชีวิตในการทางานทั้ง 8 ด้าน
               Walton (1974, อ้างถึงใน ธนินท์รัฐ ใจสอาดพัฒนพร, 2555, น. 11-15) ได้แก  ่
                       1. ด้านการได้รับค่าตอบแทนในการท างานที่เพียงพอและยุติธรรม

                       2. ด้านการมีสภาพแวดล้อมของสถานที่ปฏิบัติงาน ที่ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะต่อร่างกายและจิตใจ
                       3. ด้านความก้าวหน้าในงาน โอกาสในการพัฒนาความสามารถ
                       4. ด้านความมั่นคงในงาน
                       5. ด้านบูรณาการทางสังคม หรือการท างานร่วมกัน

                       6. ด้านสิทธิส่วนบุคคล
                       7. ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการท างานกับ การด าเนินชีวิตในประจ าวัน
                       8. ด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคมของงาน และองค์กร
                                                                                 ื่
                       คุณภาพชีวิตการท างาน หมายถึง กระบวนการที่องค์การได้จัดให้มีขึ้นเพอสนับสนุนให้พนักงานท างาน
                                                                                   ึ
               มีความสุขและมีสุขภาพจิตที่ดี โดยที่พนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานจะมีความรู้สึกพงพอใจการตอบแทนทั้งใน
                                                   ื่
               รูปแบบค่าจ้าง สิทธิสวัสดิการ หรือปัจจัยอนๆ ที่ดีจากการท างานที่สามารถตอบสนองตามความคาดหวังและ
               ความต้องการทั้งด้านร่างกายและจิตใจ (ดุสิตา เครือค าปิว, 2551)
                       องค์ประกอบของคุณภาพชีวิตการท างานที่ดี เป็นที่ต้องการและปรารถนาของบุคคลในองค์การ

                                                ี
               จะต้องประกอบด้วย ค่าตอบแทนที่เพยงพอและยุติธรรม สภาพการท างานที่มีความปลอดภัยและส่งเสริม
                                                                                                     336
   333   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343