Page 337 - thaipaat_Stou_2563
P. 337
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
organization must have measures to promote quality of life in various fields. When the
personnel are happy, it will affect the work efficiency of the personnel. Make the organization
to develop and achieve the goals of the organization in the end.
Keyword: Development guidelines, Quality of work life, Personnel at Yala Provincial Public
Health Office
บทน ำ
สภาพสังคมในปัจจุบันที่ก าลังเปลี่ยนแปลงไปในทุกขณะ ส่งผลโดยตรงต่อการด าเนินชีวิตของมนุษย์
เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเลี่ยงไม่ได้ว่าในการด าเนินชีวิตของมนุษย์นั้นมีหลากหลายกิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะ
กิจกรรมที่เรียกว่าการท างานซึ่งถือเป็นกิจกรรมหลักในการด าเนินชีวิตมากกว่ากิจกรรมใดๆ ดังนั้นในหลาย
ั
หน่วยงานและหลายองค์กรได้มีมาตรการหรือมีนโยบายที่ช่วยส่งเสริมและพฒนาคุณภาพชีวิตการท างานของ
บุคลากรในองค์กร โดยจะเห็นได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ให้คนท างานในประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข ในขณะเดียวกันคุณภาพชีวิตในการ
ท างาน (Quality of work life) มีความส าคัญอย่างยิ่งในการท างานปัจจุบัน เพราะคนเป็นทรัพยากรที่ส าคัญ
ื่
เป็นต้นทุนทางสังคมที่มีคุณค่า ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่ต้องเข้าสู่ระบบการท างาน ต้องท างานเพอให้ชีวิตด ารง
ื้
อยู่ได้และตอบสนองความต้องการพนฐาน เมื่อคนต้องท างานในที่ท างานเป็นส่วนใหญ่ จึงควรมีสภาวะที่
เหมาะสม ท าให้เกิดความสุขทั้งร่างกายและจิตใจ มีความรู้สึกมั่นคงทั้งสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางอารมณ์
สุขภาวะทางจิตวิญญาณ และสุขภาวะทางสังคม (กองสวัสดิการแรงงาน, 2547)
กระทรวงสาธารณสุขเป็นอกหนึ่งกระทรวงที่ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของทรัพยากรมนุษย์ในระบบ
ี
สุขภาพ (Human Resource for Health) ซึ่งถือเป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จหรือความล้มเหลวของการ
ด าเนินงานด้านสุขภาพ เพราะเป็นทั้งผู้สร้างและผู้น าเทคโนโลยีด้านสุขภาพไปใช้ อกทั้งเป็นผู้บริหารจัดการ
ี
ระบบสุขภาพเพอให้เกิดสุขภาพที่ดีขึ้นในหมู่ประชาชน โดยกระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดยุทธศาสตร์
ื่
บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) ซึ่งได้แก่ก าลังคนด้านสุขภาพทุกสาขาที่มีบทบาทในด้านส่งเสริม
ื้
ู
รักษา ป้องกัน ฟนฟ และคุ้มครองผู้บริโภค รวมถึงกลุ่มวิชาชีพและสายสนับสนุน ซึ่งอยู่ในภาครัฐภาคเอกชน
และชุมชน ให้เป็นหนึ่งในสี่ประเด็นยุทธศาสตร์หลักของกระทรวงสาธารณสุข อนประกอบด้วยการส่งเสริม
ั
สุขภาพ ป้องกันโรค และควบคุมผู้บริโภคเป็นเลิศ (PP&P Excellence) การบริการเป็นเลิศ (Service
Excellence) บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) และการบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
(Governance Excellence) ที่จะบรรลุเป้าหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพ
ยั่งยืน” สู่วิสัยทัศน์ “กระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพ
ดี” ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์หลักของแผน
ั
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ที่กระทรวงสาธารณสุขให้ความส าคัญเป็นอนดับแรก เนื่องจาก
ั
บุคลากรสาธารณสุขเป็นปัจจัยที่ส าคัญที่สุดต่อความส าเร็จในการด าเนินงานการพฒนาและการจัดการด้าน
ก าลังคนก็ถือเป็นงานที่ยากที่สุด แต่ก็มีความจ าเป็นต้องด าเนินการ เพราะเป้าหมายหลักของกระทรวง
สาธารณสุขที่มุ่งเน้นการพฒนาบุคลากรเพอน าไปสู่เป้าหมายความส าเร็จด้านสุขภาพ ซึ่งการจะสร้างคนให้มี
ื่
ั
คุณภาพได้นั้น ต้องมามองที่พื้นฐานความต้องการของบุคลากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยพื้นฐานที่สร้างความสุข
ในการท างานเป็นต้น
มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์การ เพราะองค์การจะประกอบด้วยมนุษย์ โครงสร้างของ
ุ
องค์การ วัสดุอปกรณ์ และสิ่งแวดล้อม ปัจจัยดังกล่าวถือเป็นปัจจัยหลักและส าคัญต่อองค์การ เนื่องจาก
335