Page 341 - thaipaat_Stou_2563
P. 341
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ิ
ื่
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ศึกษาและผู้ให้ข้อมูลแล้วน ามาพจารณาวิเคราะห์ เพอศึกษาค้นหาความจริงแท้
ของปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาโดยมีรายละเอียดดังนี้
การศึกษาในเชิงเอกสาร (Documentary Study) ท าการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและ
หลักฐานที่เกี่ยวข้อง จากแผนยุทธศาสตร์การพฒนาบุคคล แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการพฒนาคุณภาพชีวิตการ
ั
ั
ท างาน ข้อมูลพื้นฐานที่จ าเป็นของบุคลากรในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ที่แสดงให้เห็นถึงแนวทางการ
ื่
ึ
พัฒนาคุณภาพชีวิตการท างาน สภาพทั่วไปและข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรวมถงการสังเกตแล้ววิเคราะห์เพอให้ได้
ื่
ข้อมูลประกอบ รวมทั้งรายงานผลเกี่ยวข้องกับพื้นที่ศึกษาเพอประกอบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เก็บข้อมูล
ภาคสนามจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และแนวทางการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลัก พนที่ที่ใช้
ื้
ในการวิจัยส านักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ตั้งอยู่ที่ 93 ถนนเทศบาล 1 ต าบลสะเตง อาเภอเมือง จังหวัด
ั
ยะลา ช่วงระยะเวลาด าเนินการระหว่างเดือนมกราคม 2562 ถึงเดือนกุมภาพนธ์ 2563 ในการศึกษา
คุณภาพชีวิตการท างานและแนวทางการพฒนาคุณภาพชีวิตการท างาน รวบรวมประเด็นและความคิดเห็น
ั
ื่
ต่างๆ จากการสนทนากลุ่มเพอจัดท าเป็นแนวทางในการพฒนาคุณภาพชีวิตการท างานของบุคลากร การ
ั
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยผู้เชี่ยวชาญ คือ อาจารย์ที่ปรึกษาในการท าวิจัยครั้งนี้ ซึ่งน าผลการ
วิเคราะห์และข้อสรุป ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล และด าเนินการน าเสนอผลการ
ศึกษาวิจัย การน าเสนอข้อมูลจะอยู่ในลักษณะการพรรณนา (Descriptive Presentation) ประกอบการ
บรรยายที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการพฒนาคุณภาพชีวิตและการใช้องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการท างานในการ
ั
อธิบาย
ผลกำรศึกษำและอภิปรำยผล
1. ผลการศึกษาค้นหา ส ารวจและตรวจสอบข้อมูลรายงานการด าเนินงาน พบว่าส านักงานสาธารณสุข
จังหวัดยะลา ได้ด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ประกอบด้วยยุทธศาสตร์
หลัก 4 ด้าน ซึ่งในส่วนของยุทธศาสตร์ก าลังคนด้านสุขภาพ (People Excellence) เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์
หลักที่มุ่งเน้นเรื่องบุคลากร โดยถือว่าบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับชั้นเป็นอตราก าลังที่ส าคัญในการ
ั
ด าเนินงานด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นสายวิชาชีพหรือสายสนับสนุน ทางด้านผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข
ก็ได้เล็งเห็นความส าคัญของบุคลากรสาธารณสุข โดยมีการมุ่งเน้นพฒนาให้บุคลากรเป็นคนเก่ง คนดี และมี
ั
ความสุขในการปฏิบัติงาน ซึ่งได้ด าเนินการเพอเป็นการยกระดับศักยภาพและท าให้บุคลากรมีความสุขในการ
ื่
ื่
ท างานขึ้น โดยในปีงบประมาณ 2560 เป็นปีแรกที่กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดตัวชี้วัดเพอขับเคลื่อน
ความสุขของคนท างานด้วยการน าเครื่องมือที่เรียกว่า Happinometer เข้ามาใช้ในการส ารวจคุณภาพชีวิต
ั
ความสุข และความผูกพนในองค์กรของคนบุคลากรในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในทุกภาคส่วน โดยได้
ื่
ด าเนินการเปิดระบบเพอประเมินความสุขทางทางเว็บไซต์ http://happinometer.moph.go.th ระหว่าง
วันที่ 18 เมษายน – 30 มิถุนายน 2560 โดยให้บุคลากรในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเข้าไปตอบค าถาม
เพอใช้ในการประมวลผล เพอน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความสุขของคนท างานทั้ง 9 ด้าน ส าหรับส านักงาน
ื่
ื่
สาธารณสุขจังหวัดยะลา ได้ด าเนินการโดยกลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคลขับเคลื่อนด าเนินงานด้วยการน า
เครื่องมือ Happinometer เข้ามาเป็นตัววัดระดับความสุขของบุคลากร ระหว่างวันที่ 18 เมษายน
ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2560 ซึ่งมีผู้ตอบแบบประเมินดังกล่าว จ านวน 127 คน
339