Page 363 - thaipaat_Stou_2563
P. 363
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
2. Digitalization : Digital Technology หรือ Artificial Intelligent (AI) ปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใน
ทุกศาสตร์อาชีพ ท าให้เกิดDataในลักษณะเดียวกัน ซึ่ง Data ท าให้ความเป็น Digital ยังคงอยู่ ทุกคนล้วนเป็น
ผู้สร้าง ผู้ส่ง และผู้รับ พร้อมทั้งมีส่วนในการก่อให้เกิดปฏิกิริยาวงจรการเปลี่ยนแปลงของDataได้ ทั้งนี้ Data
เป็นสินทรัพย์ที่ช่วยสร้างมูลค่า ด้วยเหตุนี้หลายองค์การจึงพยายามใช้ Big Data หรือข้อมูลจ านวนมหาศาลมา
ช่วยในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการด าเนินงาน
3. Disintermediation การตัดคนกลางออกไป เนื่องจากการมี Digital ท าให้ระยะห่างระหว่างผู้ผลิต
ิ
และผู้บริโภคสลายไป ท าให้ธุรกิจที่มีคนกลางถูก disrupt ไปด้วยรูปแบบธุรกิจที่มีอนเตอร์เน็ตเข้ามาเชื่อมต่อ
ท าให้ผู้บริโภคเข้าถึงสินค้าบริการได้มากและสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
ดังนั้น Disruptive Change เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นระดับโลก เปรียบเสมือนสภาวะที่สิ่งหนึ่ง
ั
เข้ามาแทนที่อกสิ่งหนึ่ง ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รุนแรงและฉับพลัน อนเป็นผลมาจาก
ี
นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล ความรวดเร็ว ความสะดวก การเข้าถึงข้อมูลอย่างเสรี และพฤติกรรมนอกกรอบ
ของมนุษย์ จึงท าให้เกิดสภาวการณ์ดังกล่าวขึ้น แต่อย่างไรก็ตามเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงระดับโลกที่เกิดขึ้น
ื่
นั้น ก่อให้เกิดผลกระทบต่อองค์การทุกระดับที่ท าให้ต้องมีการปรับตัวเพอเข้าสู่สภาวการณ์การแข่งขันที่สูงขึ้น
Disruptive Change จึงเป็นการปรับตัวที่จะสามารถน าความท้าทายให้กลับกลายเป็นโอกาส องค์การใดรับมือ
ี่
กับการเปลี่ยนแปลงได้ทัน องค์การนั้นจะเป็นองค์การที่อยู่รอดได้ในยุคทมีความผันผวน สืบเนื่องจากความก้าว
ล้ าของนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปรียบเสมือนปัจจัยภายนอกที่องค์การไม่สามารถควบคุมได้
กรอบกำรพัฒนำบุคลำกรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบัน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส่วนงานในระบบราชการที่มีความส าคัญ ตามหลักการกระจายอานาจ
ซึ่งหากจ าแนกประเภทขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น จะประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
องค์การบริหารส่วนต าบล เมืองพทยา และกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีรวมจ านวนทั้งสิ้น 7,852 แห่งทั่วประเทศ
ั
ไทย(ข้อมูลวันที่ 20 กุมภาพนธ์ 2562) ประกอบด้วยบุคลากรประเภทต่างๆที่ท าหน้าที่ปฏิบัติงานและ
ั
ด าเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการและประชาชนทั่วไป ผลการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลสูงสุดของบุคลากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงเป็นที่คาดหวังทั้งจากภาครัฐและภาค
ประชาชนด้วย ดังนั้นการพฒนาบุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงเป็นหัวใจ
ั
ส าคัญที่แต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ควรมองข้าม การวางรากฐานการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ การ
ั
ก าหนดหลักเกณฑ์ และปรับปรุงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้การด าเนินงานด้านการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพมากขึ้น และด้วยหลักการต่างๆรวมถึงศักยภาพบุคลากรที่เกิดขึ้นจะเป็น
ส่วนช่วยขับเคลื่อนให้การด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และ
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็นส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทยเมื่อ
ปี พ.ศ.2545 มีบทบาทภารกิจส าคัญในการส่งเสริมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการพฒนาและ
ั
ให้ค าปรึกษาแนะน าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านต่างๆ ได้แก่ การจัดท าแผนพฒนาท้องถิ่น การ
ั
บริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง
ื่
และมีศักยภาพในการให้บริการสาธารณะถือเป็นหน่วยงานที่บทบาทส าคัญ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้
ก าหนดกรอบแนวทางการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยปรากฏชัดในพนธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ที่
ั
ั
ั
เปรียบเสมือนเป็นเบ้าหลอมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศด าเนินแนวทางตาม พนธกิจของกรม
ั
ั
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่ระบุบทบาทหน้าที่ในด้านการพฒนาทรัพยากรมนุษย์ คือ “บริหารและพฒนา
ทรัพยากรบุคคลของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภททุกระดับให้มี
361