Page 382 - thaipaat_Stou_2563
P. 382
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ฉลาด ของผู้น าที่ชื่อ “ลี กวนยู”
ั
บทความนี้สรุปได้ว่า ภาวะผู้น าเชิงกลยุทธ์กับการพฒนาประเทศสิงค์โปรของ ลี กวน ยู นั้น
ิ
ประกอบด้วย ประการแรก ลี กวนยูเป็นผู้น าที่มีความสามารถพเศษ ซึ่งเห็นได้จากสามารถจูงใจให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาให้กระท าตามและเป็นคนที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง รวมถึงเป็นบุคคลที่ฉลาดล้ าลึกและมี
ศิลปะในการชนะมิตรผูกใจคนและสามารถสร้างเอกลักษณ์ของชาติและรวมชาติได้ ประการที่สอง ลีกวนยู
ั
เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล สามารถวิเคราะห์ต าแหน่งของสิงค์โปร์ได้ถูกต้องและพฒนาไปสู่ต าแหน่งที่ต้องการ
จะเป็นได้ ประการที่สาม เป็นผู้สามารถน าปัจจัยต่างๆมาก าหนดกลยุทธ์ได้ โดยได้เลือกใช้ข้อได้เปรียบของที่ตั้ง
และท าเล ทางทะเลมาก าหนดกลยุทธ์ ซึ่ง ลี กวนยู เลือกใช้กลยุทธ์จากข้อได้เปรียบของที่ตั้งมาเป็นกลยุทธ์หลัก
ได้อย่างชาญฉลาด ประการที่สี่ กล้าใช้นโยบายที่โดดเด่น อาทิ นโยบายการปราบการคอรัปชั่น และการ
รณรงค์ทางวัฒนธรรมค่านิยมของชาติ ประเด็นที่ห้า เป็นผู้มีความเข้าใจอย่างเป็นระบบในระดับสูงเห็นได้ชัด
จากการให้ความส าคัญทั้งเรื่อง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี ตลอดจนมีการพฒนา
ั
อย่างเป็นล าดับขั้น และประการสุดท้าย ลี กวนยูเลือกที่จะสร้างผู้น าที่มีประสิทธิภาพจากรุ่นสู่รุ่นมาเป็น
แนวทางในการพัฒนาประทศจนประสบความส าเร็จได้ จากความส าเร็จดังกล่าว นับเป็นบทเรียนส าคัญส าหรับ
ประเทศก าลังพัฒนาทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทย ประเทศซึ่งกล่าวได้ว่า เปี่ยมด้วยความอุดมสมบูรณ์ เต็มไป
ด้วยทรัพยากรต่างๆอย่างมหาศาล มีประวัติศาสตร์ที่น่าภาคภูมิ และมีวัฒนธรรมที่สืบเนื่องยาวนาน ในสภาวะ
ที่ประเทศไทยพยายามอย่างหนักที่จะผลักดันตนเองให้ก้าวไปข้างหน้าด้วย “แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20ปี” และ
“นโยบายประเทศไทย 4.0” บทเรียนจากสิงคโปร์จะช่วยตอกย้ าให้เราเห็นถึงความส าคัญของ “ทรัพยากร
ั
ี
มนุษย์” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ผู้น า” ว่ามีความส าคัญเพยงใดส าหรับการพฒนาประเทศ ซึ่งอาจจะมี
ความส าคัญเหนือกว่านโยบาย แนวคิด หรือเทคนิควิธีใดๆ ที่เราน ามาใช้อย่างแห้งแล้ง เพราะสรรพสิ่งย่อม
ก าเนิดจากฝีมือและหัวใจของมนุษย์ทั้งสิ้น โดยเฉพาะหากมนุษย์เหล่านั้นมีผู้น าที่เข้มแข็ง หลักแหลม และรัก
ส่วนรวมอย่างลึกซึ้ง เฉกเช่นเดียวกับที่เราเห็นได้จากรัฐบุรุษแห่งสิงคโปร์ ลี กวน ยู ประเทศก็เหมือนกับคน
ตรงที่ต่างก็มีชะตากรรมเป็นของตนเอง ส าหรับประเทศไทย ไม่มีใครตอบได้ว่า เราจะมีผู้น าเชิงกลยุทธ์ที่ชาญ
ฉลาด แข็งแกร่ง และรักส่วนรวมอย่างลึกซึ้ง เช่นเดียวกับที่สิงคโปร์มีได้หรือไม่ ผู้ที่จะตอบค าถามนี้ได้ ก็คือ
ประชาชนคนไทยผู้ทรงสิทธิ์ในฐานะเจ้าของประเทศนี้ทุกคนนั่นเอง และก็เป็นค าถามที่ทุกคนควรถามตนเอง
หากว่าเราคาดหวังอนาคตที่ดีของประเทศชาติ และต้องการก าหนดชะตากรรมของเราด้วยตนเอง
References
เชษฐา พวงหัตถ์. (2552). เศรษฐกิจการเมืองทุนนิยม “แบบขงจื้อ” กับการพัฒนาของประเทศอุตสาหกรรม
์
ใหม่ในเอเชีย : การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ. วารสารร่มพฤกษ, 27 (3)
ติน ปรัชญพฤทธิ์ (2550). “ภาวะผู้น าและการมีส่วนร่วม” หน่วยที่ 11 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ
์
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี พิมพครั้งที่ 29 ส านักพิมพ ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เทิร์นบูล, แมรี่ ซี. (2540). ประวัติศาสตร์มาเลเซีย สิงคโปร์ และบรูไน (ทองสุก เกตุโรจน์, ผู้แปล).
กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ
ิ
พัชรา วาณิชวศิน (2560) การพัฒนาภาวะผู้น า จากทฤษฎีสู่แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษา ส านักพม์
ปัญญาชน
รังสรรค์ ประเสริฐศรี (2551) ภาวะผู้น า กรุงเทพมหานคร: ธนธัชการพิมพ์
380