Page 39 - thaipaat_Stou_2563
P. 39

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ประโยชน์ในกำรศึกษำ


                         ส าหรับนักวิชาการที่สนใจเรื่องจีนศึกษา รัสเซียศึกษา และ อเมริกาศึกษา และความสันพันธ์ของสามชาติ


               พัฒนำกำรควำมสัมพันธ์ระหว่ำง จีน  รัสเซีย  และสหรัฐอเมริกำ


                                  ั
                         ความสัมพนธ์ระหว่างจีน  รัสเซีย  และสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังสงครามเย็นนั้น

               แม้สหรัฐอเมริกาจะวางต าแหน่งของตัวเองให้เป็นชาติมหาอานาจที่ไม่มีใครท้าทายได้  และพร้อมที่จะตอบโต้
                                                                        ี
               กับทุกฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับตน  ซึ่งท่าทีเช่นนี้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นไปอกภายหลังเหตุการณ์  11 กันยายน พ.ศ.
               2544  และสหรัฐอเมริกาก็มีท่าทีที่หวาดระแวงมาเป็นเวลานานว่าทั้งคู่จะกลายมาเป็นประเทศคู่แข่งทาง

                                                                                    ื่
                                                                            ั
               การทหารของตนในอนาคต  แต่เมื่อในปัจจุบันทั้งสามประเทศยังต้องสัมพนธ์กันเพอสร้างผลประโยชน์ในทาง
               เศรษฐกิจท าให้มีความพยายามในการรักษาท าทีที่สร้างสรรค์ระหว่างกันเองไว้  (โกวิท  วงศ์สุรวัฒน์, 2557)
               สหรัฐอเมริกาซึ่งอยู่ในฐานะที่สามารถครองความเป็นเจ้าในปัจจุบันก็ดูประหนึ่งว่าจะมีความรู้สึกไปในทิศทาง


               เช่นนี้ด้วยเหมือนกัน  แต่ก็ต้องพยายามหาทางบอนไซอานาจของประเทศที่ตนคาดว่าจะเติบโตขึ้นมาเป็นหอก
               ข้างแคร่ของตน  จึงได้ด าเนินการในลักษณะที่เป็นทวิลักษณ์กับจีนและรัสเซีย กล่าวคือ แม้ในฉากหน้าจะมี

               ความพยายามแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ มีความร่วมมือกันในทางเศรษฐกิจ  หรือกระทั่งแม้นแต่ในทาง

                                                                          ี
               การทหาร เช่น การเชิญให้รัสเซียมาเป็นพนธมิตรในนาโต้ก็ตาม แต่ในอกทางหนึ่งก็ได้ด าเนินการปิดล้อมทั้งจีน
                                                  ั
                                               ื่
               และรัสเซียเอาไว้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพอผนึกไม่ให้ชาติทั้งสองสามารถด าเนินการแผ่อทธิพลได้สะดวกนัก เช่น
                                                                                     ิ
               ท าสงครามการค้ากับจีน แซงชั่นทางเศรษฐกิจต่อรัสเซีย  แต่การด าเนินการของสหรัฐบ่อยครั้งก็เกินเลยไปจะ
               กลายเป็นลักษณะคุกคามอย่างชัดเจน  ซึ่งสิ่งนี้เองเป็นปัจจัยส าคัญประการหนึ่งที่ท าให้จีนและรัสเซียต้องหา

               วิธีการตอบโต้สหรัฐอเมริกาในทางใดทางหนึ่ง  ซึ่งการด าเนินการที่เป็นรูปธรรมประการหนึ่งก็ต้องการสร้าง

               ความร่วมมือระหว่างประเทศในระดับที่แน่นแฟ้นเป็นอย่างยิ่ง ภายในชื่อองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ  ้


               องค์กำรควำมร่วมมือเซี่ยงไฮ้ : ก ำเนิด พัฒนำกำร โครงสร้ำง

                         องค์การร่วมมือเซี่ยงไฮ้ เป็นองค์การสร้างความร่วมมือของรัฐบาลระหว่างประเทศที่ก่อตั้งขึ้นโดยมี

                                      ื่
               วัตถุประสงค์ในเบื้องต้นเพอมุ่งรักษาความมั่นคงร่วมกัน ประเทศแกนหลักในการก่อตั้งองค์การความร่วมมือ
               เซี่ยงไฮ้ก็คือ จีน และรัสเซีย


                         ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าการประชุมในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2544  นี้ถือเป็นการประชุมสุดยอด

                                               ้
               ผู้น าองค์การความร่วมมือแห่งเซี่ยงไฮครั้งแรก จากนั้นในวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544  ประเทศสมาชิก
               องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮได้ด าเนินการร่างกฎบัตรองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮขึ้น ที่กรุงอลบาต์
                                         ้
                                                                                                    ั
                                                                                          ้
               (Almatarg) ประเทศคาซัคสถาน  โดยหลักการส าคัญในกฎบัตรดังกล่าว ได้แก่ (โกวิท  วงศ์สุรวัตน์, 2554)
                       -  ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน
                       -  การมีผลประโยชน์ร่วมกัน

                       -  การมีความเท่าเทียมกัน

                                                                                                       37
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44