Page 40 - thaipaat_Stou_2563
P. 40

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       -  การปรึกษาหารือร่วมกัน

                       -  การเคารพในอารยธรรมที่แตกต่างกัน
                       -  การมีความมั่งคั่งร่วมกัน


                         กฎบัตรดังกล่าวได้รับการลงนามรับรองในการประชุมสุดยอดผู้น าองค์การความร่วมมือแห่งเซี่ยงไฮ  ้
               ครั้งที่ 2 ในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2545 ณ นครเซนต์ปิเตอร์สเบิร์ก (Saint Peterburg) ประเทศรัสเซีย กฎ

               บัตรนี้ระบุถึงวัตถุประสงค์ขององค์การ โครงสร้างองค์การ และรูปแบบของการด าเนินงาน และตามกฎบัตรนี้

               องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ

                         โดยมีสมาชิก 8 ประเทศ คือ  จีน  รัสเซีย  ดาซัดสถาน  ก็ร์ก็ซสถาน  ทาวิกิสถาน  อทบสถาน
                                                                                                  ุ
               อินเดีย  และปากีสถาน


                         โครงสร้างองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ  ที่ประชุมสภาประมุขแห่งรัฐ (Council of Heads of
                                                           ้

               state) เป็นหน่วยงานที่มีอานาจตัดสินใจสูงสุดในโครงสร้างขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ  สภาประชุมแห่ง
                                                                                           ้
               รัฐนี้จะมีการประชุมกันในช่วงของการประชุมสุดยอดประจ าปี ซึ่งผู้เข้าร่วมในการประชุมสภาประมุขแห่งรัฐใน

               ปัจจุบัน ประกอบด้วยผู้น าสูงสุดของประเทศสมาชิก


                         หน่วยงานที่มีอานาจรองลงมาจากที่ประชุมสภาประมุขแห่งรัฐ ก็คือ ที่ประชุมสภาหัวหน้ารัฐบาล

               (Council of Heads of Government) สภาแห่งนี้ถือเอาการประชุมสุดยอดประจ าปี เป็นเวลาในการประชุม

               เพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นความร่วมมือต่าง ๆ ในระดับพหุพาคี ทั้งนี้ สภาหัวหน้ารัฐบาลนี้ยังเป็นหน่วยงานที่มี
               อ านาจในการอนุมัติงบประมาณให้แก่องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ด้วย


                         ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ มีรอบการประชุมปกติในการประชุมสุดยอดประจ าปี โดยจะประชุม

               เพอหารือเกี่ยวกับสถานการณ์ระหว่างประเทศในปัจจุบัน และจะเปิดประชุมอกเมื่อองค์การความร่วมมือเซี่ยง
                 ื่
                                                                                ี
               ไฮ้จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับองค์การระหว่างประเทศอื่น ๆ

                         อีกหน่วยงานหนึ่งที่มีความส าคัญ  ได้แก่ ที่ประชุมผู้ประสานงานระหว่างชาติ ท าหน้าที่

                                                                                       ื
               ประสานงานในโครงการความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกภายใต้กรอบความร่วมมอตามกฎบัตรองค์การ
               ความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (โกวิท  วงศ์สุรวัตน์, 2554)


                                                  ื
                         เลขาธิการองค์การความร่วมมอเซี่ยงไฮ้เป็นผู้บริหารหลักขององค์การมีหน้าที่หลักในการตัดสินใจ
               ทางด้านธุรการขององค์การ ก าหนดกฎระเบียบภายในองค์การ  ด าเนินการด้านเอกสารขององค์การ เช่น ร่าง
               ประกาศขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ จัดท าวาระการประชุม เป็นต้น จัดท ากิจกรรมพิเศษให้แก่บุคลากร

               ภายในองค์การ  ส่งเสริมภาพลักษณ์และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ ทั้งนี้ ส านักงาน

               เลขาธิการองค์การร่วมมือเซี่ยงไฮ้ตั้งอยู่ ณ กรุงปักกิ่ง






                                                                                                       38
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45