Page 36 - thaipaat_Stou_2563
P. 36
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
องค์กำรควำมร่วมมือเซี่ยงไฮ้ : กำรก่อตัวของสงครำมเย็นครั้งใหม ่
Shanghai Cooperation Organization : the formation of a New cold war
ผศ. ณัฏฐพล บุณยพิพัฒน์
Asst. ProP.NATTAPON Boonyapipat
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
Anndear 77@gMailcom
บทคัดย่อ
“องค์การความร่วมมอเซี่ยงไฮ้ : การก่อตัวของสงครามเย็นครั้งใหม่” เป็นการศึกษาค้นคว้าของผู้เขียน
ื
ั
โดยมุ่งความสนใจไปที่ระบบความสัมพนธ์ระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 หลังจากการล่มสลายของสหภาพ
โซเวียตในปี พ.ศ. 1991 จนน าไปสู่การยุติสงครามเย็น การประกาศระเบียบโลกใหม่ของสหรัฐอเมริกา และ
ื
การที่สาธารณรัฐประชาชนจีนผงาดขึ้นมาเป็นคู่แข่งขันทางทหารกับสหรัฐ โดยเฉพาะความร่วมมอกับรัสเซียใน
การก่อตั้ง “องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ”
้
ั
วัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ1) พฒนาการความสัมพนธ์ระหว่างจีน รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา 2)
ั
ก าเนิดพัฒนาการและโครงสร้างขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ 3) เพื่อวิเคราะห์ถึงบทบาทขององค์การความ
ร่วมมือ เซี่ยงไฮในการต่อต้านการคุกคามของตะวันตก โดยมีสมมติฐานในการศึกษาอยู่ว่า อานาจของโลกมี
้
การกระจายตัวคล้ายกระดานหมากรุกแบบ 3 มิติอนซับซ้อน บนสุดเป็นอานาจทางการทหารของสหรัฐ ฯ
ั
กระดานตรงกลางคือจีน กระดานล่างสุดเป็นบริษัทข้ามชาติ กลุ่มก่อการร้าย เกิดการย้ายสนามดุลอ านาจมาสู่
เอเชีย จีนกับรัสเซียก่อตั้งองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ ในขณะที่สหรัฐต้องการรักษาฐานะเจ้าโลก จะท าให้เกิด
สงครามเย็นครั้งใหม่
ั
ผลการศึกษาพบว่าพฒนาการความสัมพนธ์ระหว่างจีน รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา จีนกับรัสเซียจะ
ั
กลับมาเป็นมิตรต่อกันโดยโดดเดี่ยวสหรัฐ แต่ทั้ง 3 ประเทศก็มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน การขยาย
อานาจขององค์การนาโต้เข้าสู่ยุโรปตะวันออก และเอเชียกลาง เป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้ จีนและรัสเซียร่วมมือ
้
กันจัดตั้งองค์การร่วมมือเซี่ยงไฮ้ เมื่อผนวกเขากับความได้เปรียบทางภูมิรัฐศาสตร์ของจีนและรัสเซีย “องค์การ
ความร่วมมือเซี่ยงไฮ้จึงเป็นตัวแปรส าคัญที่จะท าให้เกิดสงครามเย็นครั้งใหม่ขึ้นมา”
ค ำส ำคัญ สงครามเย็น องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ ระเบียบโลกใหม่ ดุลอ านาจ นาโต้
34