Page 405 - thaipaat_Stou_2563
P. 405

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               Keywords: Leadership, Synthesis of body of knowledge, Local administration organization
                                                          บทน ำ

                   หน่วยงานราชการและสถาบันการศึกษาในประเทศไทยได้มีการศึกษาวิจัยด้านภาวะผู้น าในหลาย
               สาขาและหลายมิติ เช่น การศึกษาภาวะผู้น าของภาคธุรกิจเอกชน  ภาวะผู้น าของภาคราชการ และภาวะผู้น าของ
               องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามบริบทและภาระหน้าที่ ส าหรับสาขาวิชารัฐประศาสน
               ศาสตร์นั้นได้มีการศึกษาเกี่ยวกับภาวะผู้น ามาโดยตลอดและในหลายมิติ โดยเฉพาะภาวะผู้น าที่เกี่ยวข้องกับ
               การบริหารงานของระบบราชการ โดยเฉพาะการบริหารงานในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งถือว่าม   ี

               ความส าคัญต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก เพราะเป็นรากฐานของการพัฒนาภายใต้ระบอบ
               ประชาธิปไตยที่สนับสนุนและผลักดันประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ผู้น าขององค์กรปกครองท้องถิ่นจึงมี
                                ั
               ความส าคัญในการพฒนาทั้งต่อท้องถิ่นของตนและรัฐบาล รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด าเนินนโยบาย
               และท าการแปลงนโยบายต่างๆมาสู่การปฏิบัติเพอจัดบริการสาธารณะให้ประชาชนได้รับประโยชน์และมี
                                                         ื่
               คุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นได้ อาจกล่าวได้ว่า คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดีหรือไม่ ผู้น าของท้องถิ่นเป็นปัจจัยหลัก
                              ั
               ที่ส าคัญในการพฒนาให้ท้องถิ่นและประเทศชาติประสบความส าเร็จ ผู้ศึกษามีความสนใจ และเห็น
               ความส าคัญของภาวะผู้น าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   จึงได้ท าการศึกษางานวิจัยด้านภาวะผู้น าที่

                        ั
               เกี่ยวข้องกบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เฉพาะเจาะจง ซึ่งสืบค้นจากฐานข้อมูลออนไลน์ ประกอบด้วย
               วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย การศึกษาค้นคว้าอิสระ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีการ
                                                                     ื่
               ตีพมพและเผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ.2551 ถึง ปี พ.ศ.2561 เพอให้ทราบถึงความเหมือนและความแตกต่าง
                     ์
                  ิ
                                                        ั
               ของภาวะผู้น าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อนจะน าไปสู่ประเด็นความรู้ใหม่ๆ   ที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้น า
               ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย
                   วัตถุประสงค์ของการวิจัย (1) ประมวลความรู้เกี่ยวกับการศึกษาภาวะผู้น าขององค์กรปกครองส่วน
               ท้องถิ่น (2) สังเคราะห์องค์ความรู้ด้านภาวะผู้น าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัย
               เชิงคุณภาพ ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลวิจัยออนไลน์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ระดับ

               บัณฑิตศึกษา ที่มีการตีพิมพ์และเผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ. 2551 ถึงปี  พ.ศ.2561 จ านวน 13 เรื่อง ดังนี้
                       1.พบูลนนท์ ปาณะพรหมพฒน์ (2557) ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารยุทธศาสตร์ของ
                          ิ
                                              ั
               องค์การบริหารส่วนต าบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช
                                                               ั
                       2.นาสิทธิ์ แก้วค า (2554) ภาวะผู้น าในการพฒนาท้องถิ่นของนายกองค์การบริหารส่วนต าบล
               กรณีศึกษาอ าเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ

                       3.อานวย วงศ์จันทร์ (2553) ภาวะผู้น าของนายกองค์การบริหารส่วนต าบลตามความต้องการของ
               ประชาชนในต าบลแม่สูน อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
                       4.จินตนา จ่าบุญ (2553) ความคิดเห็นของบุคลากรองค์การบริหารส่วนต าบลต่อภาวะผู้น าของนายก

               องค์การบริหารส่วนต าบลในอ าเภอดอนงาน จังหวัดกาฬสินธุ์
                       5.เสรี หมู่น้อย (2554) ภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอ าเภอปราณบุรี จังหวัด
               ประจวบคีรีขันธ์

                       6.ศิรัญญา สุนทร (2550) ภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษา องค์การ
               บริหารส่วนต าบลในอ าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
                       7.อภินันท์ กสิโสภา (2553) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
               กับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนต าบลใน

               พื้นที่อ าเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ

                                                                                                     403
   400   401   402   403   404   405   406   407   408   409   410