Page 411 - thaipaat_Stou_2563
P. 411

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                 ั
               ซึ่งสอดคล้องกับ พิบูลนนท์ ปาณะพรหมพฒน์ (2557) ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารยุทธศาสตร์ของ
               องค์การบริหารส่วนต าบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการศึกษาพบว่า ผู้น าขององค์การบริหารส่วนต าบลใน

               จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรให้มีความใฝ่รู้ ,เสรี หมู่น้อย (2554) ภาวะผู้น าของ

               ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริหาร
                                                                                               ั
               องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ให้ความส าคัญกับการพฒนาตนเอง

                                                         ิ
                                                              ั
               ของบุคลากร มานัส สังข์เมือง, สิรภพ ศรีพงศ์ธรพบูล, อญชิสา บัวสุข (2552) การศึกษาแบบภาวะผู้น าของ
               ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดพิษณุโลก ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
               จังหวัดพิษณุโลก มีการพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ
                              (8)  ปฏิบัติงานตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ งบประมาณ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วน
               ท้องถิ่น อย่างเคร่งครัด ในการบริหารงานและการปฏิบัติงานของผู้น า ต้องอยู่ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ

               สอดคล้องกับ ภิชญาภา สนิทพจน์ (2553) ผู้น าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดตาก ผลการศึกษาพบว่า
               มีการก าหนดโครงสร้างและการบริหารงานเป็นไปตามที่รัฐก าหนด
                          2)  มีควำมเข้ำใจท้องถิ่น
                                                      ั
                              (1) รับฟงความคิดเห็น รับฟงปัญหาของประชาชน และแก้ไขปัญหาโดยเร็ว ผู้น าที่ดีจะต้อง
                                     ั
               รับฟังความคิดเห็น ปัญหาและแก้ไขปัญหาโดยเร็ว เพราะประชาชนที่อยู่ในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
               ถือเป็นกระบอกเสียงที่จะสะท้อนปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของชุมชนให้กับผู้น าขององค์กรปกครองส่วน
                                                                              ั
               ท้องถิ่นนั้นๆได้ทราบ สอดคล้องกับ อภินันท์  กสิโสภา (2553) ความสัมพนธ์ระหว่างภาวะผู้น าของผู้บริหาร
               องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษา
                                                               ิ
               องค์การบริหารส่วนต าบลในเขตพ้นที่ อาเภออทุมพรพสัย จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริหาร
                                             ื
                                                        ุ

               องค์การบริหารส่วนต าบลในเขตพ้นที่ อาเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ผู้บริหารต้องมีการก าหนด

                                             ื
               วิสัยทัศน์ โดยระดมความคิดเห็นจากประชาชน ศิรัญญา  สุนทร (2551) ภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์กร
               ปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนต าบลในอาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา

               พบว่า ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต าบลในอาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ บริหารงานแบบวางใจและอสระใน

                                                                                                    ิ
               การแสดงความคิดเห็น สมพงษ์  ก่องขันธ์ (2557) ความสัมพนธ์ระหว่างแบบภาวะผู้น าของนายกองค์กร
                                                                     ั
               ปกครองส่วนท้องถิ่นกับการบริหารงานตามหลักธรรมภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต อ าเภอเมือง
               จังหวัดหนองคาย ผลการศึกษาพบว่า นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย

               รับฟังความคดเห็นของประชาชนเพื่อน ามาเป็นนโยบายการบริหารงาน ภารดร ธวัชชัยกร (2555) ภาวะผู้น า
                          ิ
               ท้องถิ่นของสมาชิกสภาเทศบาล ในเขตอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ผลการศึกษา พบว่า ผู้น าท้องถิ่นของ

               สมาชิกสภาเทศบาล ในเขตอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา สามารถตัดสินใจและแก้ไขปัญหาภายในท้องถิ่นได้

               อย่างรวดเร็ว และนาสิทธิ์  แก้วค า (2554) ภาวะผู้น าในการพฒนาท้องถิ่นของนายกองค์การบริหารส่วน
                                                                     ั
               ต าบล กรณีศึกษา อาเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษา พบว่า นายกองค์การบริหารส่วนต าบล

               กรณีศึกษา อาเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ รู้ความต้องการของประชาชน เพราะเป็นคนในพนที่ แก้ไขได้
                                                                                               ื้

               อย่างรวดเร็ว
                              (2)  การปฏิบัติงานด้วยความถูกต้อง รวดเร็วและตอบสนองความต้องการของประชาชน
               สอดคล้องกับ ภิชญาภา สนิทพจน์ (2553) ความสัมพนธ์ระหว่างภาวะผู้น ากับการบริหารกิจการบ้านเมือง
                                                              ั
               ที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดตาก ผลการศึกษา พบว่า ผู้น าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด
               ตาก มีการปฏิบัติงานมุ่งตอบสนองความต้องการของประชาชนและเน้นประโยชน์สูงสุดของประชาชน




                                                                                                     409
   406   407   408   409   410   411   412   413   414   415   416