Page 413 - thaipaat_Stou_2563
P. 413

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓




               (2554) ภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผล

               การศึกษาพบว่า ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวิสัยทัศน์
               และเป็นแบบอย่างที่ดี อภินันท์  กสิโสภา (2553) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าของผู้บริหารองค์กรปกครอง
               ส่วนท้องถิ่นกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วน
               ต าบลในเขตพื้นที่ อ าเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนต าบล
                                 ุ
                                       ิ
               ในเขตพนที่ อาเภออทุมพรพสัย จังหวัดศรีสะเกษ  ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ปฏิบัติงานร่วมกัน
                      ื้

               ซึ่งจะเป็นการชักจูงให้บุคคลเหล่านั้นปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย
               ตำรำงที่ 2 ลักษณะภาวะผู้น า ลักษณะร่วมที่ส าคัญและการปฏิบัติ, พฤติกรรมและการแสดงออก
                      ลักษณะภำวะผู้น ำ                  กำรปฏิบัติ/พฤติกรรม/กำรแสดงออก

                  1. ผู้น าเชิงปฏิรูป      มีการสร้างขวัญก าลังใจ, สร้างแรงจูงใจให้ผู้ร่วมงาน, มีการท างานเป็น
                                           ทีม, รับฟังความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน, มีการตั้ง
                                           และก าหนดมาตรฐานในการท างาน, มีการมอบหมายงาน,การจัดสาย
                                           การบังคับบัญชา,

                                           การกระจายอ านาจในการตัดสินใจ, มีบทการลงโทษส าหรับผู้กระท า
                                           ผิด, เน้นการพัฒนาบุคลากร, ปฏิบัติงานตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
                                           งบประมาณ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างเคร่งครัด

                  2. มีความเข้าใจท้องถิ่น   ระดมความคิดเห็นของประชาชนเพื่อสร้างวิสัยทัศน์ ,รับฟังปัญหา
                                           พร้อมแกไขปัญหาโดยเร็ว ,การปฏิบัติงานด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว
                                                   ้
                                           และตอบสนองความต้องการของประชาชน ,เน้นประโยชน์สูงสุดของ
                                           ประชาชน ,การปฏิบัติงาน
                                           ที่ประชาชนสามารถตรวจสอบได้

                  3. อุทิศตน เสียสละ       อุทิศตนในการปฏิบัติงาน ,มีลักษณะนักพัฒนา ,มีความคิดริเริ่ม ,มี
                                           สติปัญญาไหวพริบ เฉลียวฉลาด ,ค านึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
                                           ส่วนตน, เชื่อมั่นในตนเอง ,มีความสัมพันธ์ฉันมิตร ,ประพฤติปฏิบัติตน

                                           เป็นแบบอย่างที่ดี

                                                                         สรุป
                            การสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านภาวะผู้น าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ศึกษาได้สังเคราะห์

               ภาวะผู้น าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยสรุปลักษณะร่วมที่ส าคัญได้  3 ลักษณะ คือ 1. ผู้น าเชิงปฏิรูป
               2. มีความเข้าใจท้องถิ่น 3. อทิศตน เสียสละ ซึ่งทั้ง 3 ลักษณะ จะปรากฏในผู้น าขององค์กรปกครองส่วน
                                         ุ
               ท้องถิ่นไทย ซึ่งบางคนก็จะปรากฏ 1 ลักษณะและบางคนอาจจะมีทั้ง 3 ลักษณะ ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่าภาวะผู้น า

               ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เช่นนี้เป็นลักษณะภาวะผู้น าที่เป็นรูปแบบ ผสมผสาน เป็นไปตาม ลักษณะ
               บุคลิกภาพ ของแต่ละบุคคล รวมถึง สังคม วัฒนธรรม ประเพณี กฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ ซึ่งผู้น าแต่ละคนย่อม
               มีลักษณะภาวะผู้น าที่แตกต่างกันออกไป และจากงานวิจัยยังพบจุดอ่อนหรือจุดด้อยของภาวะผู้น าด้วยคือ ผู้น า
               ไม่ค่อยยอมรับความผิดพลาด หากมีปัญหาในการปฏิบัติงาน มีการใช้อานาจแทรกแซงในการจัดซื้อ จัดจ้าง ใช้


               อานาจให้ความดีความชอบแก่พนักงานที่ตอบสนองนโยบายของตนไม่สามารถสร้างความไว้ใจให้กับ
               ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ทุกเรื่อง บางครั้งปฏิบัติงานอย่างความเคลือบแคลงสงสัย ยึดความเห็นส่วนตัวมากกว่ารับ



                                                                                                     411
   408   409   410   411   412   413   414   415   416   417   418