Page 56 - thaipaat_Stou_2563
P. 56

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓




               Key words :  School of elders.

               Master of Public Administration  , Faculty of Humanities and Social Science  Southern College of Technology
               E-mail : sudsomboon_pao@hotmail.com
                                                          บทน ำ

                     องค์การสหประชาชาติได้ก าหนดให้อายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นเกณฑ์ในการน าเสนอสถิติข้อมูลและตัวชี้วัดที่
               เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ (Older/Elderly Person) และยังได้นิยามว่า ประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป

               เป็นสัดส่วนเกิน ร้อยละ 10 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้น
               ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เมื่อ
                                               ิ่
                                                                                   ิ่
               สัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เพมเป็นร้อยละ 20 และอายุ 65 ปีขึ้นไป เพมเป็นร้อยละ 14  ส าหรับ
               ประเทศไทย มีการก าหนดนิยามผู้สูงอายุไว้ในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 มาตรา 3 ผู้สูงอายุ
               หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,2557) ซึ่ง
               ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีจ านวนประชากรทั้งสิ้น 65.9 ล้านคน ในจ านวนนี้เป็นผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จ านวน
               8.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 13.3 ของประชากร (กรมการปกครอง,2560) ซึ่งจากค านิยามขององค์การ

               สหประชาชาติ ส่งผลให้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และคาดว่าภายในปี
               2568 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) นอกจากนี้การก้าวสู่สังคม
               ผู้สูงอายุเป็นปรากฏการณ์ที่ชัดเจนของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21 จากข้อมูลพบว่า จ านวนผู้สูงอายุได้เพมขึ้น
                                                                                                      ิ่
               อย่างรวดเร็วและต่อเนื่องคือ จากประมาณ 2.4 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 5.5 ของประชากรทั้งประเทศใน

               ปี 2523 เป็น 6.8 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 10.86 ของประชากรทั้งประเทศในปี 2550 (สถาบันวิจัย
               ประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล,2550)  และคาดว่าในปี 2573 ประชากรวัยสูงอายุจะมีจ านวนถึง 17.7 ล้าน
                                                                                          ั
               คน ซึ่งจะ เป็นสัดส่วนถึง 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพฒนาผู้สูงอายุไทย,
               2558) เหล่านี้เป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขท าให้การป้องกันและดูแล

               รักษาโรค เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับการมีมาตรฐานการด าเนินชีวิตสูงขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมี
               อายุยืนยาวขึ้น ข้อมูลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า ผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มบุคคลที่ควรให้ความส าคัญอย่างมาก
                                                      ั
                       บทความนี้ได้รวบรวมกระบวนการพฒนาและการให้ความส าคัญกับกลุ่ม ผู้สูงอายุ ผ่านการเรียนรู้
               ตลอดชีวิตในแหล่งเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า โรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งผู้เขียนได้รวบรวมทั้งแนวคิด  ปรัชญาและ

                                                                ื้
               หลักการการจัดการศึกษาให้กับผู้สูงอายุ รวมทั้งตัวอย่างพนที่จริงที่จัดการศึกษาในรูปแบบโรงเรียนผู้สูงอายุ
                 ื่
               เพอมุ่งหวังให้เกิดการพฒนาต่อยอดองค์ความรู้หรือกระบวนการพฒนาในการจัดการศึกษาส าหรับผู้สูงอายุให้
                                   ั
                                                                      ั
                                                                                       ้
               สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุอย่างแท้จริงและเหมาะสมกับบริบทของแต่ละทองถิ่น
               แนวคิดกำรจัดกำรศึกษำส ำหรับผู้สูงอำยุ
                       ปรัชญาการศึกษาผู้สูงอายุ  เป็นสิ่งจ าเป็นในการจัดการศึกษาทุกชนิด เพราะเป็นหลักการในการ
               ด าเนินงาน เพอให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายอนเดียวกัน โดย ศุภร ศรีแสน (2530) ได้กล่าวถึงปรัชญาการศึกษา
                                                 ั
                           ื่
               ส าหรับผู้สูงอายุไว้ดังนี้  1) เพอช่วยให้ผู้เรียนบรรลุถึงความสุข และมีการชีวิตอยู่อย่างมีความหมาย 2) เพอ
                                         ื่
                                                                                                        ื่
                                                                                           ั
               ช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจตนเอง ความถนัดตามธรรมชาติ ขีดจ ากัดของสมอง และมีมนุษยสัมพนธ์กับคนอนๆ 3)
                                                                                                    ื่
                 ื่
                                                                                      ื่
               เพอช่วยให้ผู้สูงอายุตระหนักและเข้าใจถึงความจ าเป็นของการศึกษาตลอดชีวิต  4) เพอเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุ
               ก้าวหน้าไปตามขบวนการ วุฒิภาวะทั้งทางด้านจิตใจ และร่างกาย สังคม  วัฒนธรรม การเมืองและอาชีพ  และ
                                      ื่
               5) เป็นการจัดการศึกษาเพอสนองความต้องการในไตรภาค (การอาน การเขียน และการคิดเลข) ได้ทักษะ
                                                                        ่
                                                                                                       54
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61