Page 67 - thaipaat_Stou_2563
P. 67

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓











               Keyword: The Characteristics of Democratic Citizenship, Non-Formal and Informal Education
                                                          บทน ำ

                       ในช่วงศตวรรษที่ 21 ประเทศต่างๆ ทั่วโลก พยายามผลักดันให้ประชาชนของตนมีการเปลี่ยนแปลง
               และพัฒนาทางความคิดที่เกิดขึ้นเองโดยปัจเจกบุคคล มีความเป็นพลเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning Citizens)
                                                                   ั
                                    ั
               โดยการผสานความสัมพนธ์กับทรัพยากรทางการศึกษา และพฒนาวิถีชีวิตของพลเมืองให้มีความพร้อมและ
                                                  ั
               ยกระดับคุณภาพชีวิตตนเอง สังคม และพฒนาประเทศให้ดีขึ้น (ดุษณี ค ามี, 2557: 14) ซึ่งภายใต้ปฏิญญา
                 ิ
               อนชอนว่าด้วยการศึกษา ปี ค.ศ.2030 (Education 2030 Incheon Declaration) ได้ก าหนดกรอบ
                          ื่
                                                                   ั
               การศึกษาเพอความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย ขับเคลื่อนการพฒนาความรู้และทักษะทางปัญญา (Cognitive
               skill) ทัศนคติ (Attitude) และพฤติกรรม (Behavior) โดยถือเป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่าน
               ประสบการณ์และการปฏิบัติที่ให้ประชาชนและผู้ใหญ่มีความพร้อมในสิทธิ ความรับผิดชอบ มีส่วนร่วมอย่าง
               แข็งขัน รวมถึงการส่งเสริมและสร้างการยอมรับพหุสังคมประชาธิปไตย (Alt, D. & Raichel, N., 2018: 21)
                       ถึงแม้ในหลายประเทศจะมีความเป็นประชาธิปไตยมาอย่างยาวนาน แต่มีหลักฐานที่ชี้ให้เห็นว่าระดับ
               การมีส่วนร่วมในการเป็นพลเมืองมีระดับที่ลดลง โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน และยังพบว่าในประเทศที่

                 ้
               อางว่าตนเองมีความเป็นประชาธิปไตย แต่กลับพบว่าความเป็นพลเมืองในกระบวนการประชาธิปไตยกลับถูก
                                                                 ื่
               ลิดรอนในสิทธิและเสรีภาพ จึงได้มีการส่งเสริมการศึกษาเพอสร้างความเป็นพลเมืองที่มีความพร้อม โดยการ
               พฒนาความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงทัศนคติ และพฤติกรรมผ่านกิจกรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ ทั้งในระดับ
                 ั
               ครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน (Ministry for Education and Employment, Malta, 2017: 1 - 3)

                       ส าหรับประเทศไทย มีการส่งเสริมการศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองไว้ชัดเจนในแต่ละระดับ
               การศึกษา แต่ยังไม่สามารถท าให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ โดยเฉพาะความตระหนักในหน้าที่ความ
                                                                       ื่
               รับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย การเคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อน และการมีส่วนร่วมในกระบวนการทาง
               การเมืองและสังคม และปัญหาการเผชิญหน้าของกลุ่มสนับสนุนทางการเมืองต่างขั้วโดยปราศจากการคิด
               วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559: 45)
                      ดังนั้น บทบาทการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย จึงเป็นการให้โอกาสทางการ
                                                                           ั
                                                                             ั
               ศึกษาแก่ประชาชนที่อยู่ทั้งในระบบ และนอกระบบโรงเรียน รวมถึงการพฒนาคุณภาพชีวิตด้านต่าง ๆ โดย
                                                   ื้

               สามารถกระจายการศึกษาครอบคลุมทุกพนที่อย่างทั่วถึง ทั้งระดับจังหวัด อาเภอ และต าบล ซึ่งมีขอบเขต
               ความรับผิดชอบที่กว้างขวาง กลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลาย รวมทั้งบูรณาการความรู้สามัญและอาชีพทั้ง
               หลักสูตรระยะยาวและระยะสั้น เพอเป็นพนฐานของการด ารงชีวิตและประกอบอาชีพตามบริบทผู้เรียน เน้น
                                             ื่
                                                   ื้
               สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ทัศนคติที่ดีและเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมที่ดีในความเป็นพลเมือง
               ประชาธิปไตย (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559: 170)
                       จากเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความประสงค์ที่จะศึกษาองค์ประกอบคุณลักษณะการส่งเสริมความเป็น
                                                                                    ื่
               พลเมืองประชาธิปไตย ส าหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย เพอน าไปประยุกต์ใช้ในการ
                                                                            ั
                                                                                                       65
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72