Page 68 - thaipaat_Stou_2563
P. 68

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                                        ื่
                                                                 ั
               ก าหนดนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาอธยาศัย ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์เดียวกัน และเพอ
                                                                 ั
               เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการส่งเสริมและพฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะความเป็นพลเมืองที่ดี
               ในสังคมประชาธิปไตย






                                                       วัตถุประสงค์
                            ื่
                       1) เพอวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะการส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย ส าหรับ
               การศึกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศัย
                                        ึ
                       2) เพอเสนอแนะเชิงนโยบายการส่งเสริมความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย ส าหรับการศึกษานอก
                            ื่
               ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


                                                      วิธีกำรศึกษำ
                       การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (mixed method research) โดยเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิง

               ปริมาณ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
                           ขั้นตอนที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) โดยผู้วิจัยศึกษาทบทวนแนวคิด
               หลักการ ทฤษฎี บทความวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพอวิเคราะห์ตัวแปรที่ส าคัญเกี่ยวกับคุณลักษณะ
                                                                   ื่
               ความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย น าไปสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา จ านวน 7 คน พิจารณาให้ข้อคิดเห็น
               เกี่ยวกับรายละเอยดองค์ประกอบและตัวแปร เพื่อก าหนด (ต้นแบบ) องค์ประกอบคุณลักษณะการส่งเสริมความ
                             ี
               เป็นพลเมืองประชาธิปไตย ส าหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย โดยการวิเคราะห์เนื้อหา
                                                                               ั
               (Content Analysis)
                           ขั้นตอนที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยผู้วิจัยน าเนื้อหาที่ได้จากการ

               สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษามาวิเคราะห์ จากนั้นคัดเลือกตัวแปรที่ได้จากการตรวจสอบจาก
               ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา และได้ปรับปรุงแก้ไขตัวแปรให้เหมาะสมแล้ว น าไปสอบถามความคิดเห็นผู้บริหาร
               การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และข้าราชการครู ในสังกัดส านักงาน กศน. ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
                                                                                                      ื่
               จ านวน 650 คน โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส ารวจ (Exploration Factor Analysis : EFA) เพอจัด
               กลุ่มตัวแปร และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) เพอตรวจสอบ
                                                                                                ื่
               ความตรงเชิงโครงสร้าง

                                          แนวคิด ทฤษฎี และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

               1.แนวคิด ทฤษฎี หลักกำรกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย
                       1.1 แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)
                           แนวคิดที่เพมบทบาทและความส าคัญจากการศึกษาตลอดชีวิต ไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
                                     ิ่
               เนื่องจากเป็นการพฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคมที่มีขอบเขตที่กว้างขวางมากขึ้นผ่านกระ
                               ั
               บวนการเรียนรู้ต่าง ๆ และมความซับซ้อนขึ้น โดยการกาหนดแนวทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็น
                                       ี

               ส่วนประกอบพื้นฐานส าคัญในการสร้างความเป็นพลเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning Citizens)
                                                                                                       66
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73