Page 41 - Microsoft Word - PAAT Journal V3-2020-update by ap
P. 41
PAAT Journal Vol. 2, No. 3, June 2020
ิ
ิ
ั
ั
ิ
ิ
ื
่
ี
กรณของไทย สํานกงานพฒนารฐบาลดจทล หรือ สพร. (เดมชอ สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนกส์
ั
ั
ื
่
ิ
ึ
่
็
ั
ู
่
้
ในชอยอสรอ.) เปนส่วนหนงของกระแสการพฒนาดานข้อมลตามทศทางของนานาชาต และอาศยกรอบการ
ิ
ั
ั
พฒนาอนเป็นทยอมรบขององค์กรระหวางประเทศดวยเหตผลความจาเปนบางอยาง หรืออิทธิพลทีได้รับจาก
ํ
ี
ั
่
่
่
ุ
่
้
็
ั
้
้
ุ
ั
่
ํ
ั
์
็
ความรู และกระบวนการส่งผ่านนวตกรรมในยคแหงโลกาภิวฒน นโยบายรัฐจงกาหนดให้ประเดนดานการ
ึ
ิ
ิ
็
ู
่
เปดเผยข้อมล สารสนเทศ และข้อมลเปิดภาครัฐ เปนส่วนทแสดงถึงความโปร่งใส การเปดโอกาสใหประชาชน
ี
ู
้
มส่วนร่วม และการเชอมโยงการทํางานระหว่างหนวยงานรฐดวยกัน สพร. ในฐานะองค์กรตามภารกิจใหมเชิง
ื
่
่
่
้
ั
ี
ึ
ั
้
์
้
็
่
ู
ั
ั
ข้อมลของรัฐ จงไดจดตงศูนยกลางข้อมลภาครัฐ (Open Government Data Center) อยางเปนทางการ วนท ี ่
ู
5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 โดยสามารถเขาถึงไดที https://data.go.th/ ตอมาในป พศ. 2563 แหล่งข้อมล
ู
้
้
ี
่
่
้
ี
้
่
่
ั
่
ู
่
้
เปดทใหบริการบนโดเมนเกาไดรับการพฒนาและยายมาอยที https://opendata.data.go.th โดยมการปรับ
ิ
ี
้
้
้
้
้
ี
ี
่
่
ู
รูปแบบ เนือหากลุมข้อมล และส่วนผูใชใหมความน่าสนใจ และมความสะดวกในการใช้ยิงขึน
มาตรฐานขอมูลเปิด: เทคนิค และการยอมรับ
้
ู
ความพยายามของรฐบาลไทยในการเปดเผยข้อมล สารสนเทศ ตลอดจนการสรางความโปร่งใส
ั
ิ
้
้
ิ
่
ู
ี
่
่
่
และการมสวนร่วมของประชาชน อาจไมตางไปจากประเทศส่วนใหญ ข้อมลเปดภาครัฐจึงไดรับการสนับสนุน
่
เพอใหเปนไปตามแนวการบรหารตามหลักธรรมาภิบาลอนเปนทยอมรับในระดบสากล อยางไรกตาม ความทา
่
้
่
ี
็
ื
ิ
็
ั
็
ั
้
้
ั
้
ั
ิ
้
ั
่
ทายในการพฒนาทางเทคโนโลยี และนวตกรรมดจิตลของไทยซ่งอยูในฐานะผูซือ และผูใช้มากกว่าจะเป็น
ึ
ั
้
้
ผูสร้าง หรือผกําหนดมาตรฐานใหกับนานาชาติ จงทําใหเหนข้อจากัดของการพฒนา และบริการขอมลเปด
ู
ึ
ู
ํ
็
้
ิ
้
้
ิ
้
ื
ี
ภาครฐไทยอยูมาก ทังน นอกเหนอจากประเดนดานมาตรฐานของระบบข้อมลเปดทใหบริการบนโดเมนหลก
ู
่
้
ั
้
ั
ี
้
่
็
็
ื
่
ประเดนอนๆ ทีสําคัญ อาทิเช่น การสร้าง และบันทึกข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล การทําให้เข้าถึง และการใช้งาน
่
ู
ั
่
ิ
ั
่
่
ํ
็
ไดจริง ยังนบวาเปนชองวางของการพฒนา และการจัดทาข้อมลเปดของประเทศจานวนมาก (Zuiderwijk et
ํ
้
al., 2019)
่
ตามข้อตกลงทเรียกวา สัตยาบนข้อมลเปดระหวางประเทศ (International Open Data
่
่
ั
ิ
ี
ู
ั
่
้
ึ
้
Charter) ซงเกิดขึนจากการพฒนาร่างข้อตกลงในปี พ.ศ. 2558 โดยนักวิชาการ ผูเชียวชาญ ตัวแทนภาครัฐ
ุ
่
ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมจากกลมประเทศพัฒนาทางเศรษฐกิจ 8 ประเทศ (G8) และประเทศภาคี
ี
ั
่
ู
ิ
(Open Government Partnership: OGP) หลักการสําคัญ 6 ข้อเกยวกบข้อมลเปดภาครัฐประกอบด้วย
(The International Open Data Charter, 2015)
้
1. การเปิดเป็นฐานตงตน (Open by Default)
ั
้
2. ชวงเวลาอนเหมาะสม และความครอบคลุม (Timely and Comprehensive)
่
ั
3. การเข้าถึง และสามารถใชการได (Accessible and Usable)
้
้
4. การเปรียบเทยบได และปรับข้ามรูปแบบได้ (Comparable and Interoperable)
้
ี
5. การพฒนาธรรมาภิบาล และการมส่วนร่วมภาคประชาชน (Improved Governance and Citizen
ั
ี
Engagement) และ
6. การพฒนาแบบรวมส่วนอน และนวตกรรม (Inclusive Development and Innovation)
ั
่
ื
ั
ิ
ื
่
นอกเหนอจากหลักการสําคัญ 6 ประการขางตน คณะทางานพฒนาระบบข้อมลเปดระหวาง
ั
้
ู
้
ํ
่
ั
้
้
ี
ิ
่
ั
็
่
ี
ประเทศยงไดกําหนดมาตรฐานระดบละเอยดในประเดนทีเกียวข้องอกมากมาย อาทเชน ดานการเข้าถึงผ่าน
์
่
เวบไซต อปกรณ์การทํางานรูปแบบอืน และสมารท์โฟน ด้านรูปแบบไฟล์ข้อมูลทีไม่ปิดกันการประมวลผลด้วย
่
็
้
ุ
ี
่
่
่
่
โปรแกรม ดานการไมลําเอยงตอสภาวะทแตกตางกันของบุคคลหรือกลุมคน เป็นตน อยางไรก็ตาม ความ
้
ี
่
่
้
่
33 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย