Page 116 - thaipaat_Stou_2563
P. 116

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               เกี่ยวข้องภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงานเหล่านั้นให้เหตุผลว่ายังไม่ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย
               และไม่มั่นใจว่านโยบายนี้อยู่ในความรับผิดชอบของตนเอง แม้ว่าจะมีข้อมูลปรากฏในเว็บไซต์ของหน่วยงาน
               รัฐบาล ระบุว่าหน่วยงานเหล่านั้นเป็นผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพก็ตาม ปัญหาความไม่
               ชัดเจนเช่นนี้เกิดจากการสื่อสารที่ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถระบุได้ว่าหน่วยงานใดบ้างจะเป็นผู้รับผิดชอบ

                                                                         ุ
               นโยบาย ยกตัวอย่างเช่น กรณีนโยบายด้านการเกษตรของจังหวัดอบลราชธานี เช่น นโยบายส่งเสริมองค์
                                ิ
                                                   ื้
                                                                               ิ
               ความรู้ด้านเกษตรอนทรีย์ให้แก่เกษตรในพนที่ นโยบายขยายระบบเกษตรอนทรีย์ครอบคลุมทั้งจังหวัด หรือ
               กระทั่งโครงการอุบลโมเดล หน่วยงานส่วนกลางมักจะก าหนดนโยบายให้หน่วยงานส่วนภูมิภาคน าไปปฏิบัติ แต่
               ไม่ก าหนดแน่ชัดว่ากรมส่งเสริมการเกษตรหรือกรมวิชาการเกษตรจะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ซึ่งความไม่
               ชัดเจนของการก าหนดนโยบายดังกล่าวส่งผลกระทบเชิงลบต่อการขับเคลื่อนนโยบายเป็นอย่างมาก สามารถ
               อธิบายได้ดังต่อไปนี้
                              1.1 นโยบำยขำดกำรสื่อสำรไปยังหน่วยงำนระดับล่ำง เมื่อแนวทางปฏิบัติและเจ้าภาพหลัก

               ของนโยบายไม่ชัดเจน จึงยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดจะต้องรับผิดชอบในเรื่องใดในการขับเคลื่อนนโยบาย
               ปัญหานี้สะท้อนให้เห็นจากการที่ผู้บริหารบางส่วนรับรู้ข้อมูลนโยบายแต่ยังไม่เข้าใจนโยบายอย่างถ่องแท้ ส่วนผู้
               ที่เข้าใจนโยบายอย่างถ่องแท้ส่วนใหญ่อยู่ในระดับผู้อานวยการ (หน่วยงานละ 1-2 คน) อย่างไรก็ตาม ผู้บริหาร

               แม้จะทราบข้อมูลแต่ก็ไม่สามารถผลักดันนโยบายได้เท่าที่ควร เนื่องจากไม่มีการระบุถึงความรับผิดชอบและ
               การสื่อสารลงมาจากหน่วยงานส่วนกลางให้ชัดเจน จึงยากแก่การทุ่มเททรัพยากรให้เต็มที่ เพราะหน่วยงานต้อง
                                         ื่
               จัดสรรทรัพยากรไปที่นโยบายอนด้วย ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ไม่ทราบแน่ชัดเกี่ยวกับนโยบายเศรษฐกิจ
                                                               ุ
               ชีวภาพ ยิ่งไปกว่านั้น ผู้ปฏิบัติงานไม่ทราบว่าโครงการอบลโมเดลอยู่ภายใต้นโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ แม้
                                                 ุ
               ผู้ปฏิบัติงานจะท างานภายใต้โครงการอบลโมเดล ทว่าเป็นการท างานในลักษณะให้ความส าคัญเฉพาะงาน
                                                                                ื่
               ประจ าของตนเองเท่านั้น โดยไม่พยายามเชื่อมโยงงานของตนเองกับงานส่วนอนในลักษณะการบูรณาการ ท า
                                                                                      ื้
               ให้งานแต่ละส่วนแยกขาดออกจากกัน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ใช้ความรู้พนฐานในนโยบายด้าน
               การเกษตรที่คล้ายคลึงกันซึ่งเป็นความรู้ชุดเดิม และเมื่อเกิดปัญหาขึ้นมักจะไปแก้ปัญหาหน้างาน เพราะมองว่า
               เป็นปัญหาเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่ส่งผลต่อกระทบมากนักต่อการปฏิบัติตามนโยบาย สถานการณ์เช่นนี้ท าให้
               เจ้าหน้าที่ขาดความทุ่มเทในการแก้ไขปัญหา รวมถึงไม่เกิดการพัฒนาทักษะความรู้ความช านาญ
                              1.2 กำรซ้อนทับกับนโยบำยด้ำนเกษตรอน ๆ เนื่องจากนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพมีแนว
                                                                  ื่
                                            ิ
               ทางการส่งเสริมในรูปแบบเกษตรอนทรีย์ที่คล้ายคลึงกับนโยบายด้านเกษตรอน ๆ เช่น นโยบายเกษตรอินทรีย์
                                                                               ื่
               และนโยบายเกษตรแปลงใหญ่ ผู้ปฏิบัติงานจึงสับสนว่านโยบายเหล่านี้คือนโยบายเดียวกันกับนโยบาย
                                                                                                 ื่
                                                                                          ิ
               เศรษฐกิจชีวภาพ การปฏิบัติงานจึงกระท าในแนวทางเดิมที่คล้ายคลึงกับงานด้านเกษตรอนทรีย์อน ๆ ท าให้
               การปฏิบัติงานผิดวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของนโยบาย อย่างไรก็ดี ภาพรวมของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานแม้จะมี
               ความรู้พนฐานด้านการเกษตร สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรได้เป็นอย่างดี แต่ก็เป็นเพยงความรู้
                       ื้
                                                                                                 ี
               พนฐานที่ใช้ปฏิบัติในนโยบายด้านเกษตรทั่วไป ไม่ใช่เป็นความรู้เฉพาะด้านเศรษฐกิจชีวภาพ ประกอบกับ การ
                 ื้
               ที่นโยบายขาดแนวทางและการสื่อสารที่ไม่เพยงพอ ยิ่งส่งผลต่อการรับรู้ของผู้ปฏิบัติงานที่ไม่สามารถมองภาพ
                                                     ี
               ทั้งห่วงโซ่การผลิตได้ชัดเจน โดยผู้ปฏิบัติงานมักจะมองเฉพาะภาระงานของตนเองและขาดการเชื่อมโยงกับงาน
               ส่วนอื่น
                              1.3 กำรก ำหนดนโยบำยไม่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ หน่วยงานส่วนกลางมักจะก าหนด
                                                                                        ื้
               เป้าหมายให้หน่วยงานระดับภูมิภาคไปปฏิบัติโดยไม่ค านึงถึงปัญหารากฐานส าคัญในพนที่ เช่น ต้องการให้
               เกษตรกรทั้งจังหวัดเปลี่ยนไปเป็นระบบเกษตรอนทรีย์ แต่เกษตรกรยังขาดแคลนปุ๋ยอินทรีย์ ขาดระบบจัดการ
                                                       ิ
               น้ าที่เหมาะสม รวมถึงขาดแรงงานในระบบการผลิต ประกอบกับภาครัฐยังขาดการวิเคราะห์ตลาด ขาดความรู้

                                                                           ิ
               ในการต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง นอกจากนี้ รูปแบบการท าเกษตรอนทรีย์มีมิติที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน


                                                                                                     114
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121