Page 117 - thaipaat_Stou_2563
P. 117
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
่
หลายมิติ แต่ภาครัฐดูเหมือนจะให้ความส าคัญเพียงแคมิติด้านเศรษฐกิจ ยังขาดการวิเคราะห์เชื่อมโยงในมิติอน
ๆ เช่น ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
1.4 ควำมย้อนแย้งของนโยบำยที่เกี่ยวข้อง โดยทั่วไปแล้วนโยบายด้านการเกษตรของ
ภาครัฐมักจะขาดความเชื่อมโยงและมีความขัดแย้งกันเองสูง สถานการณ์ดังกล่าวสะท้อนให้เห็นจากกรณีที่
รัฐบาลต้องการผลักดันนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพให้บรรลุผลในทางปฏิบัติ ซึ่งแนวทางส าคัญของนโยบาย
เศรษฐกิจชีวภาพนั้นต้องไม่ใช้สารเคมีในระบบการผลิต แต่ในขณะเดียวกันภาครัฐกลับมีนโยบายเกี่ยวกับการ
ใช้สารเคมีในระบบการผลิต เช่น นโยบายการขึ้นทะเบียนสารเคมี นอกจากนั้น การควบคุมช่องทางการ
จ าหน่ายสารเคมีที่ไม่ได้มาตรฐานของภาครัฐยังหละหลวมและไม่มีทิศทางการก ากับดูแลที่แน่ชัด ดังจะเห็นได้
จากในพื้นที่ยังมีการโฆษณาและการขายตรงวัตถุอันตรายทางการเกษตรเกินจริง ท าให้เกษตรกรซื้อปุ๋ยเคมีและ
สารก าจัดศัตรูพืชที่ไม่ได้มาตรฐาน ดังนั้น ในเมื่อภาครัฐไม่มีหลักเกณฑ์เรื่องนโยบายสารเคมีที่ชัดเจน ก็ยิ่งท าให้
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและเกษตรกรเกิดความสับสนในทางปฏิบัติ เช่นนั้นแล้วจึงยากที่จะบรรลุเป้าหมายที่
ต้องการให้เกษตรกรเปลี่ยนไปเป็นระบบเกษตรอินทรีย์ครอบคลุมทั้งจังหวัด
ั
ตามค าอธิบายข้างต้น จะพบว่าผลกระทบเชิงลบของการขับเคลื่อนนโยบายอนเนื่องมาจาก
เนื้อหาสาระของนโยบายที่ขาดความชัดเจนนั้น ปัญหาทั้งหลายที่กล่าวมาล้วนมีความเชื่อมโยงและส่งผล
กระทบซึ่งกันและกันทั้งสิ้น พิจารณาจากการที่ภาครัฐต้องการให้หน่วยงานผู้ปฏิบัติท าตามเป้าหมายที่ก าหนด
แต่ในเมื่อนโยบายขาดการก าหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ขาดการเชื่อมโยงนโยบายในทุกระดับและทุกมิติ
ี
อย่างเพยงพอ ตลอดจนขาดการก าหนดเจ้าภาพที่ชัดเจน หน่วยงานผู้ปฏิบัติจึงไม่เข้าใจเจตนารมณ์ที่แท้จริง
ของนโยบาย และไม่มั่นใจว่าจะต้องปฏิบัติงานอย่างไร นอกจากนี้ การที่นโยบายมีความไม่สอดคล้องกันกับ
ื้
บริบทในพนที่และยังขัดแย้งกันเองในนโยบายที่เกี่ยวข้อง การปฏิบัติงานจึงเต็มไปด้วยความสับสนและไม่
สามารถมองภาพร่วมกันได้ทั้งระบบ จึงยากแก่การขับเคลื่อนนโยบายให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
ทั้งนี้ ประเด็นความไม่ชัดเจนด้านเนื้อหาสาระของนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ จากการทบทวน
เอกสารที่เกี่ยวข้อง พบว่า สภาพการณ์เช่นนี้มักพบได้ทั่วไปของการน านโยบายด้านเกษตรไปปฏิบัติของ
ประเทศไทย กล่าวคือ การก าหนดนโยบายและตัวชี้วัดไม่เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงของสังคมและวิถี
เกษตรกร ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
(ปรารถนา ยศสุข, 2559) ประเด็นนี้สะท้อนถึงกระบวนการการก าหนดนโยบายของภาครัฐ ที่มักจะตั้ง
ิ
วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของนโยบายโดยยึดจากผู้บริหารระดับสูงเป็นส าคัญ ขาดการพจารณาถึงบริบทใน
ุ
พื้นที่ ภาครัฐมักจะคาดหวังว่าจะให้บริการและส่งเสริมคณภาพชีวิตของเกษตรในชนบท และกระจายอ านาจให้
ี
ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม อกทั้งยังมุ่งหวังให้การน านโยบายไปปฏิบัติเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ
ึ่
ประหยัด ตลอดจนส่งเสริมให้เกษตรกรเป็นผู้น าท้องถิ่นที่เข้มแขง รู้จักพงตนเอง ด้วยการเข้ารับการอบรมและ
็
มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น จะเห็นว่าความมุ่งหวังของภาครัฐในด้านต่าง ๆ นี้ไม่เพยงแต่จะดูไม่
ี
ึ่
สอดคล้องกันแต่ยังขัดแย้งกันเองอย่างเห็นได้ชัด เช่น การเน้นให้ท้องถิ่นพงตนเองได้
แต่ขาดการสนับสนุนปัจจัยการผลิตและต้นทุนที่หน่วยงานหรือเกษตรกรจะต้องแบกรับ รวมถึงการจัดสรร
ื้
ี
งบประมาณที่ไม่เหมาะสม เน้นเพยงการอบรมเป็นหลัก ในขณะที่ภาครัฐต้องการขยายพนที่การท าเกษตร
ิ่
ิ่
ิ
อนทรีย์ และจ านวนของเกษตรในระบบอนทรีย์ก็มีแนวโน้มเพมขึ้น แต่งบประมาณกลับไม่เพมขึ้นตาม
ิ
ี
ทั้งยังไม่มีนโยบายเพิ่มจ านวนข้าราชการผู้ปฏิบัติงานให้ครอบคลุมทุกพนที่อกด้วย
ื้
2. ปัจจัยด้ำนสภำพแวดล้อมของโครงกำรหรือนโยบำย (Context of Policy) ดังที่กล่าวไปแล้วว่า
การขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพของจังหวัดอบลราชธานี อุปสรรคส าคัญคือปัจจัยด้านเนื้อหาสาระที่ไม่
ุ
ชัดเจน ส่งผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายในภาพรวมไม่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ดี ปัจจัยดังกล่าวกลับไม่ใช่
ั
เงื่อนไขหลักอนส าคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนนโยบาย ปัจจัยด้านความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
115