Page 120 - thaipaat_Stou_2563
P. 120
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ควรก าหนดให้กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบหลัก เนื่องจากมีความพร้อมทั้งในด้านองค์ความรู้และ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการ และสามารถประสานความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี
2. ภาครัฐต้องก าหนดหลักเกณฑ์และทิศทางของนโยบายเกี่ยวกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรให้
เข้มข้น ในลักษณะที่สามารถบังคับให้เกษตรกรลดหรือเลิกใช้สารเคมอย่างแพร่หลาย เช่น ทบทวนการอนุญาต
ี
ื
ให้มีการขึ้นทะเบียนสารเคมีก าจัดศัตรูพช ก าหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบในการก ากับดูแล ตลอดจนก าหนด
ั
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการโฆษณาและการขายตรงวัตถุอนตรายทางการเกษตร รวมถึงการสร้างความ
ื่
ตระหนักรู้ผ่านการฝึกอบรมแก่เจ้าหน้าที่ เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้ผลิต เพอเป็นการสร้างความมั่นใจ
ิ
ให้แก่เกษตรกรในการเปลี่ยนมาปลูกในระบบอนทรีย์ และสร้างแนวทางปฏิบัติอย่างชัดเจนให้แก่หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
3. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าร่วมโครงการอุบลโมเดลมากขึ้น สิ่งแรกที่ภาครัฐควรด าเนินการคือการ
ิ
เปลี่ยนทัศนคติของเกษตรกรให้หันมาเปลี่ยนวิถีการปลูกในระบบเกษตรอนทรีย์ อาจกระท าผ่าน 2 วิธีการ
ื้
ื่
ได้แก่ 1) สนับสนุนปัจจัยพนฐานเพอแสดงถึงความสะดวกในการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต เช่น จัดตั้งกองทุน
ื่
พฒนาแหล่งน้ าและระบบจัดการน้ าเพอการเพาะปลูกในระดับครัวเรือน จัดตั้งกองทุนพฒนาเทคโนโลยีและ
ั
ั
นวัตกรรมการผลิต จัดตั้งกองทุนส าหรับวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์และวิธีการปลูก และ 2) ภาครัฐควรใช้วิธีการ
เปรียบเทียบระหว่างระบบเคมีและระบบอนทรีย์ให้เห็นภาพชัดเจน โดยพยายามชี้ให้เห็นถึงข้อเสียของระบบ
ิ
เคมีอย่างจริงจัง อาจจะกระท าในลักษณะประชาสัมพนธ์เชิงรุก ในแง่นี้ควรกระท าควบคู่ไปกับนโยบายการใช้
ั
สารเคมีที่ได้กล่าวไปข้างต้น
3. หน่วยงานภาครัฐควรปรับบทบาทในการช่วยเหลือเกษตรกรให้สอดคล้องตามศักยภาพของ
เกษตรกร เช่น ในระยะแรกจะเป็นการดูแลอย่างใกล้ชิดโดยให้ความรู้พนฐานและส่งเสริมปัจจัยการผลิต
ื้
เบื้องต้น ระยะต่อมาเมื่อเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตแล้วจึงให้ความรู้ชุดใหม่ที่สูงขึ้น
รวมถึงส่งเสริมปัจจัยการผลิตก็ต้องเหมาะสมด้วยเช่นกัน ระยะต่อมาเมื่อเกษตรกรเริ่มพงพาตนเองได้ภาครัฐก็
ึ่
ื่
ื่
ยังคงควบคุมดูแลอยู่เพอไม่ให้ออกนอกมาตรฐาน และอาจให้เกษตรกรช่วยเป็นพเลี้ยงแก่เกษตรกรรายอนใน
ี่
รูปแบบของเกษตรกรตัวอย่าง (Role Model)
ั
ื่
4. เพอแก้ปัญหาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานขาดการพฒนาทักษะความรู้ความช านาญ และมักแก้ปัญหา
เฉพาะหน้า หน่วยงานภาครัฐควรมีการสรุปถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เนื่องจากการถอดบทเรียนจะน าไปสู่การปรับปรุงเพอให้เกิดการพฒนาใน
ั
ื่
การปฏิบัติงานครั้งต่อไป และการพฒนาครั้งนี้ยังเป็นการตอบสนองต่อเป้าหมายของนโยบายรัฐ ที่ส าคัญ
ั
ผลประโยชน์สูงสุดของการพัฒนาย่อมตกอยู่ที่ตัวของเกษตรกรผู้เป็นก าลังหลักในห่วงโซ่การผลิต
5. เนื่องจากการขายผลผลิตของเกษตรกรขึ้นอยู่กับระบบกลไกตลาด ภาครัฐควรมีแนวทางรองรับ
ี
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โดยการวิเคราะห์ตลาดเพอให้เข้าใจและรู้เท่าทันระบบกลไกตลาด อกทั้งยังต้องศึกษา
ื่
ั
ื่
ุ
ข้อมูลของคู่ค้าและคู่แข่งส าคัญในอตสาหกรรมมันส าปะหลัง เพอพฒนาสินค้าให้เป็นไปตามความต้องการของ
ตลาดและยังเป็นการลดความสูญเสียด้านการค้า
เอกสำรอ้ำงอิง
Dye, T.R. (2015). Understanding Public Policy, (14th ed.). Boston: Pearson.
Edward, G. C. III and Sharkansky, I. (1 9 7 8 ) . The Policy Predicament: Making and
Implementation Public Policy. San Francisco: W.H. Freeman and Company.
European Commission. (2012). The Bioeconomy in the European Union in numbers Facts
and figures on biomass, turnover and employment. Retrieved 22 February 2019,
from
118