Page 118 - thaipaat_Stou_2563
P. 118

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                   ื้
               ในพนที่ต่างหากที่เป็นเงื่อนไขส าคัญท าให้นโยบายเศรษฐกิจชีวภาพสามารถด าเนินการต่อไปได้อย่างราบรื่น
               แม้ว่าตัวเนื้อหาสาระของนโยบายจะไม่ชัดเจนก็ตาม เนื่องจากสาเหตุ ดังนี้:
                              2.1 ควำมร่วมมอระหวำงหน่วยงำนภำครัฐ ผู้ปฏิบัติงานด้านการเกษตรของหน่วยงาน
                                                   ่
                                            ื
                                                                                      ื้
               ภาครัฐมีการประสานความร่วมมือกันเป็นอย่างดี เนื่องจาก ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มีพนฐานด้านการเกษตรที่
               คล้ายคลึงกัน จบการศึกษาจากคณะเดียวกันหรือสถาบันเดียวกัน มีความสนิทสนมกันทั้งภายในและภายนอก
               หน่วยงาน และมีประสบการณ์ท างานร่วมกันในนโยบายด้านการเกษตรอน ๆ มาอย่างต่อเนื่อง จึงเข้าใจในวิถี
                                                                            ื่
               การท าเกษตรและเข้าใจสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในพนที่ร่วมกัน เมื่อปฏิบัติงานร่วมกันจึงสื่อสารและประสานงาน
                                                        ื้
               กันง่าย ส่งผลต่อการเห็นพองต้องกันในเป้าหมายของนโยบายสูง ประกอบกับจ านวนของหน่วยงานหลักที่
                                      ้
               เกี่ยวข้องและผู้ปฏิบัติงานจึงมีจ านวนไม่มาก จึงช่วยลดโอกาสที่จะเกิดความขัดแย้งหรือลดการติดต่อสื่อสารที่
               ล่าช้าและไม่มีประสิทธิภาพ
                                                             ื่
                              2.2 กำรสนับสนุนของเกษตรกร เพอให้ผ่านการตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตตามระบบ
                       ิ
                                                   ุ
               เกษตรอนทรีย์ เกษตรผู้เข้าร่วมโครงการอบลโมเดลจึงมีความตั้งใจและให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในทุก
               ขั้นตอนการผลิต ซึ่งการรับรองดังกล่าวจะเป็นเครื่องการันตีถึงรายได้และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของเกษตรกร
               ในอนาคต อย่างไรก็ดี เกษตรกรยังประสบกับปัญหาด้านปัจจัยการผลิตบางประการ ได้แก่ ขาดวัตถุดิบการท า
                                                    ื
               ปุ๋ยอนทรีย์ ขาดเครื่องมือในการก าจัดวัชพช ขาดระบบจัดการน้ า และขาดแรงงาน เป็นต้น นอกจากนี้ ยัง
                   ิ
               พบว่าเกษตรกรบางรายยังขาดความรู้พนฐานในการเลือกซื้อปุ๋ยให้ถูกต้องตามมาตรฐาน แม้หน่วยงานรัฐจะมี
                                                ื้
               การอบรมวิธีการเลือกซื้อปุ๋ย รวมถึงมีช่องทางการสื่อสารให้สอบถาม เช่น กลุ่มไลน์ ก็ยังพบว่ามีการซื้อปุ๋ยที่
               ไม่ได้ผ่านการรับรองมาตรฐานอยู่เสมอ ท าให้เกษตรกรเหล่านั้นไม่ผ่านการตรวจรับรองมาตรฐานตามระบบ
               เกษตรอนทรีย์ ปัญหาในส่วนนี้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนก็พยายามแสวงหาทางออกร่วมกัน เช่น หมั่น
                      ิ
               ตรวจเยี่ยมแปลงเกษตรกรเพอตรวจเช็คมาตรฐาน ระหว่างการตรวจเยี่ยมแปลงจะมีการให้ค าแนะน ารวมถึงให้
                                       ื่
               ก าลังใจแก่เกษตรกร การเก็บตัวอย่างดินไปตรวจสอบ และเน้นการสื่อสารให้ข้อมูลผ่านการอบรมและส่งข้อมูล
               ในกลุ่มไลน์อยู่เสมอ รวมถึงใช้เครือข่ายหมอดินช่วยกันดูแลเกษตรกรในชุมชนอย่างใกล้ชิด จึงสามารถจัดการ
               กับปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้ ภาพของการสนับสนุนดังกล่าวจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้แก่
               เกษตรกร และมองว่าเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องมีการดูแลเอาใจใส่และมุ่งหวังให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่าง
               แท้จริง

                              2.3 กำรสนับสนุนจำกภำคเอกชน แม้ว่าภาพลักษณ์ของภาคเอกชนในสายตาของเกษตรกร
               ในช่วงแรกจะมองว่าภาคเอกชนมุ่งเข้ามาแสวงหาก าไรเพยงอย่างเดียว ท าให้เกษตรกรไม่มั่นใจที่จะเข้าร่วม
                                                               ี
               โครงการ แต่ด้วยการสื่อสารของภาคเอกชนซึ่งมีการให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง มีการรับประกันราคา การันตีเรื่อง
               รายได้ และการลดต้นทุนการผลิต รวมถึงการหาตลาดในการรับซื้อ จึงเป็นสิ่งจูงใจให้เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ
                                                                             ั
               มากขึ้น อกทั้งภาคเอกชนยังร่วมมือกับภาครัฐช่วยกันคิดค้นและวิจัยหาพนธุ์มันส าปะหลังและวิธีการปลูกที่
                        ี
               เหมาะสม เพอช่วยการลดต้นทุนการผลิตและเพมรายได้ให้แก่เกษตรกร จึงกล่าวได้ว่า ภาคเอกชนนับเป็นตัว
                          ื่
                                                       ิ่
               แสดงหลัก (Key actors) ที่สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบาย ซึ่งการสนับสนุนนี้ครอบคลุมตั้งแต่งบประมาณ

               ปัจจัยการผลิต องค์ความรู้ และการอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง บางครั้งภาคเอกชนก็
               เสนอเป็นเจ้าภาพหลักในการจัดกิจกรรม และเป็นผู้รวบรวมงบประมาณ ตลอดจนช่วยจัดสรรทรัพยากรให้
               อย่างเหมาะสม ซึ่งการที่ภาคเอกชนยังมีความพร้อมในด้านทรัพยากรสูง จึงพร้อมที่จะพัฒนาเทคโนโลยีและต่อ
               ยอดองค์ความรู้เดิมอยู่เสมอ ท าให้สามารถดูแลเอาใจใส่เกษตรกรได้อย่างทั่วถึง ทั้งการให้ค าแนะน าและเข้า
               ตรวจเยี่ยมแปลงปลูกมันส าปะหลังอย่างสม่ าเสมอ ตลอดจนสนับสนุนปัจจัยการผลิตบางส่วนให้แก่เกษตรกร
                                                                 ี
               เช่น กากมันส าปะหลังเพอใช้ท าปุ๋ย เครื่องจักรก าจัดวัชพช อกทั้งยังเป็นผู้รับผิดชอบต้นทุนในการตรวจรับรอง
                                    ื่
                                                              ื
               มาตรฐานผลิตภัณฑ์ เมื่อเกษตรกรได้รับการดูแลก็ยิ่งจูงใจให้เกษตรกรปฏิบัติตามแนวทางอย่างเคร่งครัด ไม่


                                                                                                     116
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123