Page 119 - thaipaat_Stou_2563
P. 119
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
กล้าที่จะออกนอกมาตรฐาน และเข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
จะอาศัยการประชุมร่วมกันเพื่อปรึกษาหารือ สรุปผลการด าเนินงาน และรายงานความคืบหน้าอยู่เสมอ
2.4 นโยบำยได้รับกำรต่อยอดจำกโครงกำรเดิมในพื้นที่ นอกจากปัจจัยด้านความร่วมมือที่
ี
สนับสนุนให้นโยบายด าเนินการต่อเนื่องแล้ว ยังมีอกปัจจัยในแง่ของนโยบายนั้นได้รับการต่อยอดจากโครงการ
ั
เดิมที่ด าเนินการอยู่ในพนที่ก่อนแล้ว กล่าวคือ โครงการพฒนาการส่งเสริมการเกษตรการปลูกมันส าปะหลัง
ื้
หรือ โครงการอบลโมเดล เป็นโครงการในลักษณะการบูรณาการร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ุ
เกษตรกร ในการส่งเสริมและพฒนาเกษตรผู้ปลูกมันส าปะหลัง โครงการดังกล่าวด าเนินการตั้งแต่ปี 2557
ั
ื่
ในขณะที่รัฐบาลเริ่มก าหนดนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพเพอเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ในปี 2560 ดังนั้น นโยบายเศรษฐกิจชีวภาพจึงเป็นเรื่องใหม่และเกิดขึ้นในภายหลัง เมื่อแนวทางของนโยบาย
ุ
เศรษฐกิจชีวภาพได้สอดคล้องกับโครงการอบลโมเดลที่ก าลังด าเนินอยู่ รัฐบาลจึงผลักดันโครงการอบลโมเดล
ุ
เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ ด าเนินการผ่านแนวทางประชารัฐและแนวทางเศรษฐกิจ
กระแสใหม่ ภาพของการส่งเสริมนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพของรัฐบาลจึงได้รับการตอบสนองจากหน่วยงาน
พนที่ผ่านโครงการอบลโมเดล ด้วยเหตุนี้ การขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพจึงเป็นการปฏิบัติงานต่อ
ื้
ุ
ยอดจากงานเดิมที่ด าเนินการอยู่ก่อนแล้ว เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเพยงแค่ท างานในลักษณะเดิม เพอตอบสนอง
ื่
ี
ต่อวัตถุประสงค์ของโครงการเดิม นโยบายจึงได้รับการขับเคลื่อนต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
บทสรุปและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงนโยบำย
จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพในข้างต้นนั้น ชี้ให้เห็นว่า
เนื้อหาสาระของนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพยังไม่มีความชัดเจนเพยงพอ ส่งผลในเชิงลบต่อความเชื่อมโยงของ
ี
แผนปฏิบัติงานของหน่วยงานในทุกระดับ อย่างไรก็ดี จะพบว่านโยบายดังกล่าวยังคงสามารถขับเคลื่อนต่อไป
ได้ เนื่องมาจากปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของนโยบาย นั่นคือ นโยบายดังกล่าวยังมีความเชื่อมโยงกับโครงการ
เดิมในพนที่ ที่ส าคัญคือความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย นับเป็นปัจจัยหลักที่ขับเคลื่อนให้นโยบาย
ื้
ุ
เศรษกิจชีวภาพของจังหวัดอบลราชธานีด าเนินไปอย่างราบรื่นและมีความต่อเนื่อง เงื่อนไขส าคัญของความ
ั
ร่วมมือดังกล่าวคือ ความสัมพนธ์ดั้งเดิมของหน่วยงานภาครัฐที่ใกล้ชิดกัน หน่วยงานเหล่านี้ต่างมีพนฐานองค์
ื้
ความรู้ด้านการเกษตรที่สอดคล้องกัน ตลอดจนระบบการสื่อสารและประสานงานกันอย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากนั้นแล้วภาคเอกชนนับเป็นก าลังหลักในการสนับสนุนปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และให้ความร่วมมืออนดีกับ
ั
ภาครัฐมาโดยตลอด รวมถึงทัศนคติของเกษตรกรที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจและให้ความร่วมมือในทุกขั้นตอนการ
ผลิต ผลการศึกษาที่เกิดขึ้นนี้สอดคล้องกับการศึกษาของ เจษฎา มิ่งฉาย (2552) พบว่า ปัจจัยการ
ั
ประสานงานและความร่วมมือ เป็นปัจจัยที่มีความสัมพนธ์ทางตรงกับประสิทธิผลของนโยบายเกษตรอินทรีย์ที่
อยู่ในรูปของกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) และเครือข่ายความร่วมมือ (Network) โดยได้รับการ
สนับสนุนจากสถาบันในชุมชน ท้องถิ่น และจากกระแสสังคม เป็นภาพของการร่วมคิด ร่วมท า และร่วมผลักดัน
ตามบทบาทและความรับผิดชอบของแต่ละภาคส่วนที่มีความสัมพนธ์ซึ่งกันและกัน ด้วยเหตุนี้ นโยบาย
ั
เศรษฐกิจชีวภาพที่ด าเนินการผ่านโครงการอุบลโมเดลจึงปรากฏผลผลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรม สะท้อนจากความ
ั
ร่วมมือที่สามารถผลักดันให้นโยบายเกิดความต่อเนื่อง และยังสามารถต่อยอดเทคโนโลยีและพฒนาระบบการ
ผลิตมันส าปะหลังอนทรีย์ กระทั่งผลักดันให้เกษตรกรจ านวนหนึ่งมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ จากผลการศึกษา
ิ
ดังกล่าวนี้ ผู้เขียนมีข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงนโยบาย ดังต่อไปนี้
1. ภาครัฐต้องก าหนดยุทธศาสตร์และกรอบการพฒนาเศรษฐกิจชีวภาพให้เป็นเอกภาพ และ
ั
ครอบคลุมทุกมิติ รวมถึงก าหนดเป้าหมาย แผนการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ตลอดจนก าหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบให้
ชัดเจน และที่ส าคัญต้องมอบหมายให้คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิบัติรูปเศรษฐกิจชีวภาพที่รัฐบาลแต่งตั้ง
ขึ้น เป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนนโยบายและรับผิดชอบในการสั่งการโดยตรง ซึ่งในกรณีจังหวัดอุบลราชธานี
117