Page 123 - thaipaat_Stou_2563
P. 123

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓






                       กำรติดตำมและประเมินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนและกำรบริหำรหลักสูตรรัฐประศำสนศำสตรบัณฑิต
                           วิชำเอกกำรบริหำรกำรปกครองท้องที่หลักสูตรควำมร่วมมือระหว่ำงกระทรวงมหำดไทยกับ
                                                มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช

                               อาจารย์ ดร.พนมพัทธ์ สมิตานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จ าเนียร ราชแพทยาคม
                           รองศาสตราจารย์มานิต ศุทธสกุล อาจารย์ ดร.ชูเกียรติ มุทธากาญจน์ อาจารย์ปรีชา วัชรภัย
                                        อาจารย์นิพัทธา อมรรัตนเมธา อาจารย์สุจริต ปัจฉิมนันท  ์


                                                         บทคัดย่อ

                       การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร รป.บ. แขนงวิชา
               บริหารรัฐกิจ วิชาเอกการบริหารการปกครองท้องที่ ที่ด าเนินการอยู่นั้นด้านบริบท ปัจจัยน าเข้า กระบวนการด าเนินงาน และ
               ผลผลิตของการใชหลักสูตร โดยข้อมูลที่ได้จะน าไปใชในการปรับปรุงหลักสูตร ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และ2) เสนอแนะ
                                                      ้
                             ้
               แนวทางในการปรับปรุง กระบวนการเรียนการสอน และการบริหารหลักสูตร
                                           ิ
                                                       ้
                       การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชงประเมินโดยใชแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร 5
                                                                                  ้
               กลุ่ม ได้แก่ นักศึกษาปัจจุบัน บัณฑิต ผู้ใชบัณฑิต อาจารย์ประจ า และเจ้าหน้าที่ มสธ.โดยใชแบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
                                             ้
               ตัวอย่างทั้งหมดจ านวน 730 คน กลุ่มตัวอย่างจากการค านวณโดยสูตรทาโร ยามาเน่ ได้ 265 คน ทั้งนี้ได้รับแบบสอบถามคืน
               562 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
                                                                                  ุ
                       ผลการวิจัยติดตามและประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรพบว่า (1) ทกองค์ประกอบที่ประเมินมีความ
                                                                                           ้
               เหมาะสมและมีคุณภาพในระดับมากถึงระดับมากทสุด กล่าวคือ 1) ด้านบริบท ทั้งนักศึกษา บัณฑิต ผู้ใชบัณฑิต และอาจารย์
                                                     ี่
                                                   ั
               ประจ าเห็นว่าวัตถุประสงค์ของหลักสูตรมีความชดเจน ตอบสนองความต้องการของนักศึกษาและบัณฑิต และความต้องการ
                                                                          ึ
               ของตลาดแรงงานและสังคม สอดคล้องกับภารกิจของมหาวิทยาลัยในระดับมากถงมากที่สุด พร้อมกันนี้นักศึกษา บัณฑิต และ
               อาจารย์ประจ าเห็นว่าชุดวิชาในหมวดวิชาต่างๆ มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเหมาะสมที่จัดไว้โครงสร้างของหลักสูตร
               ในระดับมากถึงมากที่สุด ส าหรับส าหรับชุดวิชาต่างๆ ในหมวดวิชาเฉพาะทั้งนักศึกษา บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต และอาจารย์เห็นว่ามี
               ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและมีความเหมาะสมที่จัดไว้ในโครงสร้างหลักสูตรในระดับมากถึงมากที่สุด ผล
               การประเมินด้านบริบทผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด 2) ด้านปัจจัยน าเข้า นักศึกษา บัณฑิต และเจ้าหน้าที่ มสธ. เห็นว่าเอกสารการ
               สอน แหล่งการเรียนรู้ และคุณภาพของสื่อการเรียนรู้มีความเหมาะสมและคุณภาพในระดับมาก ในขณะเดียวกันอาจารย์
               ประจ าเห็นว่าศักยภาพและความพร้อมของผู้สอนมีอยู่ในระดับมาก ผลการประเมินด้านปัจจัยน าเข้าผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด 3)
               กระบวนการด าเนินงานซึ่งเป็นการน าหลักสูตรไปใชด าเนินการด้านการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การบริการ
                                                     ้
               และการจัดการการศึกษาของมหาวิทยาลัยนั้นนักศึกษา บัณฑิต อาจารย์ประจ า และเจ้าหน้าที่ มสธ.เห็นว่ามีเหมาะสมและมี
                                                                                               ้
               คุณภาพในระดับมาก ผลการประเมินด้านกระบวนการผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด 4) ด้านผลผลิต ทั้งบัณฑิตและผู้ใชบัณฑิตเห็นว่า
                                          ึ
               บัณฑิตบริหารรัฐกิจมีคุณลักษณะที่พงประสงค์ในระดับที่มากถึงมากที่สุด ผลการประเมินด้านผลผลิตผ่านเกณฑ์ที่ก าหนด (2)
               ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตรนั้น ควรปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนและการบริหารหลักสูตร โดยในการ
               ก าหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร อาจก าหนดได้ดังนี้ (1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและสมรรถนะสูงในด้าน
               บริหารรัฐกิจให้เพียงพอและตรงกับความต้องการขององค์กรภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงมหาดไทยซึ่งเป็นหน่วยงานต้น
               สังกัด (2) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ วิธีการและเทคนิคการบริหารภาครัฐอันจะส่งผลให้บัณฑิตสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้
                                 ่
               อย่างมีประสิทธิภาพ เชน ทักษาะในการเขียนโครงการและการบริหารโครงการของรัฐ เป็นต้น (3) เพื่อขยายโอกาสให้
               ประชาชนและผู้ปฏิบัติงานทั้งในภาครัฐและเอกชนได้พัฒนาสมรรถนะและศึกษาวิชาการด้านบริหารรัฐกิจ เพื่อยกระดับการ
               ท างานในอาชีพให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น







                                                                                                     121
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128