Page 124 - thaipaat_Stou_2563
P. 124
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ค ำส ำคัญ: การติดตามและประเมินผล การจัดการเรียนการสอนและการบริหารหลักสูตร หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
วิชาเอกการบริการการปกครองท้องที่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
กลุ่มกำรบริหำรรัฐกิจ 2
เครือข่ำยนโยบำย กรณีศึกษำเปรียบเทียบศูนย์ส่งเสริมควำมรับผิดชอบต่อสังคม
ของภำคธุรกิจ จังหวัดรำชบุรี และจังหวัดน่ำน
16
นางสาวเหมรัตน์ ศิริพงษ์
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Email address: hemarat.siripong@gmail.com
บทคัดย่อ
ประเทศไทยมีการด าเนินกิจกรรมด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจส่วนใหญ่
ั
เพอการประชาสัมพนธ์องค์กรให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น เป็นไปในรูปแบบของการบริจาคช่วยเหลือหรือการปลูกป่า
ื่
ซึ่งกลายเป็นเครื่องมือทางธุรกิจที่ตอบสนองประโยชน์ต่อองค์กรแทนที่จะเป็นกิจกรรมที่ตอบสนองและสร้าง
ประโยชน์ต่อสังคม ในมุมมองภาพรวมของประเทศไทยยังไม่มีหน่วยงานหรือองค์กรใดท าหน้าที่ก าหนด
นโยบายและการด าเนินมาตรการส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการท าซีเอสอาร์ อย่างกว้างขวางในภาคธุรกิจ และ
ในส่วนของภาคธุรกิจแม้จะมีการรวมตัวกัน แต่ยังไม่มีเวทีกลางและช่องทางรวบรวมเครือข่ายและองค์กรธุรกิจ
ั
ในการแลกเปลี่ยนความรู้ จนกระทั่งกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ผลักดันมาตรการ
ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจในบริบทของภาครัฐที่ยังไม่เคยด าเนินการมาก่อน บทความนี้จึง
ื่
เป็นการมุ่งศึกษาเกี่ยวกับการด าเนินมาตรการดังกล่าวในลักษณะของการบริหารกิจการแบบเครือข่ายเพอ
ด าเนินการขับเคลื่อนภารกิจในการบริหารจัดการโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
ในจังหวัดราชบุรี และจังหวัดน่าน จากการศึกษาพบว่าภูมิหลังและบริบทของสถานการณ์น าไปสู่การจัดตั้งศูนย์
ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจเกิดจากแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียนในด้านสิทธิและความยุติธรรม และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์การส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมของภาคธุรกิจ และมีการขับเคลื่อนแผนงานในระดับจังหวัดก่อเกิดเป็นเครือข่ายความร่วมมือหลาย
ภาคส่วน
์
16 บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ สาขาบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วสันต์ เหลืองประภัสร์ E-mail : wasanbu@gmail.com
122