Page 126 - thaipaat_Stou_2563
P. 126
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
Keyword: Corporate social responsibility, policy network.
บทน ำ
ิ
จากกระแสโลกาภิวัตน์ที่มีอทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ส่งผลให้เกิดความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยองค์กรธุรกิจทั่วโลกให้ความส าคัญและตื่นตัว
เกี่ยวกับกระแสความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (Corporate Social Responsibility : CSR) ส าหรับ
ั
งานด้านCSR ในประเทศไทยส่วนใหญ่เกิดขึ้นเพอการประชาสัมพนธ์องค์กรให้เป็นที่รู้จักเป็นไปในรูปแบบของ
ื่
การบริจาคช่วยเหลือหรือการปลูกป่า นอกจากนี้แล้วหลายๆ องค์กรด าเนินงานด้านนี้เพอลดผลกระทบและ
ื่
ความเสี่ยงต่อธุรกิจ เนื่องจากการประกอบธุรกิจส่งผลกระทบเชิงลบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมท าให้ถูกต่อต้าน
ื่
ื้
จากประชาชนจนเป็นอปสรรคในการด าเนินงาน จึงเกิดกิจกรรมช่วยเหลือสังคมในพนที่นั้นๆ เพอให้องค์กร
ุ
ธุรกิจได้รับการยอมรับจากสังคม (ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์,2550) ท าให้ CSR กลายเป็น
เครื่องมือทางธุรกิจที่ตอบสนองประโยชน์องค์กรแทนที่จะเป็นกิจกรรมที่สร้างประโยชน์ต่อสังคม ประกอบกับ
สังคมส่วนหนึ่งยังสับสนระหว่างการท าธุรกิจแบบถูกกฎหมายกับการท าธุรกิจด้วยคุณธรรมเป็นอย่างไร ใน
ความเป็นจริงแล้วงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมนอกจากค านึงถึงสิ่งแวดล้อม ยังรวมถึงการคุ้มครอง
แรงงาน การยึดหลักสิทธิมนุษยชน การด าเนินธุรกิจด้วยหลักธรรมาภิบาล จริยธรรม โปร่งใส และต้องค านึงถึง
ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียอีกด้วย
18
ความน่าสนใจของการศึกษานี้ คือ การท า CSR ในบริบทของภาครัฐ เนื่องจากภาพรวมระดับประเทศ
ยังไม่มีหน่วยงานภาครัฐใดท าหน้าที่ในด้านการก าหนดนโยบายและการด าเนินมาตรการส่งเสริมและผลักดันให้
เกิดการท า CSR อย่างกว้างขวางในภาคธุรกิจ ในส่วนภาคธุรกิจแม้จะมีการรวมตัวกัน แต่ยังไม่มีเวทีกลางและ
ช่องทางรวบรวมเครือข่ายและองค์กรธุรกิจในการแลกเปลี่ยนความรู้ จนกระทั่งกระทรวงการพฒนาสังคม
19
ั
และความมั่นคงของมนุษย์ ผลักดันมาตรการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ จัดท ายุทธศาสตร์
ื่
การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจเพอขับเคลื่อนงานด้าน CSR ในระดับประเทศเพอเกิดการ
ื่
ท างานร่วมกันของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการใช้ทรัพยากรที่จ ากัดให้เกิดผลกระทบเชิง
บวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์
ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาเกี่ยวกับการด าเนินภารกิจด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของ
ภาคธุรกิจของกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในลักษณะของการบริหารกิจการแบบ
ั
เครือข่าย เป็นการศึกษาภูมิหลังของร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมในการบริหารงานเพอ
ื่
ขับเคลื่อนการบริหารจัดการโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ ภายใต้แนวคิดการ
บริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบเครือข่าย (Network Governance) แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารกิจการ
บ้านเมืองแบบร่วมมือกันหลายภาคส่วน (collaborative governance) จึงน ามาสู่การเขียนบทความวิชาการนี้
ขึ้น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เรื่อง เครือข่ายนโยบาย กรณีศึกษาเปรียบเทียบศูนย์ส่งเสริมความ
18 ส านักวิจัยเศรษฐกิจและประเมินผล ส านักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดทางสังคม ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์. โครงการส ารวจความคิดเห็นและทัศนคติทางสังคมรายไตรมาส
เรื่อง ภารกิจร่วมของเอกชนในการแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ าทางสังคม : CSR และ Social Enterprises.
19 เรื่องเดียวกัน
124