Page 127 - thaipaat_Stou_2563
P. 127
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ จังหวัดราชบุรี และจังหวัดน่าน
วิธีกำรศึกษำ
ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เน้นการพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive
analysis) ในการศึกษานี้ ได้แบ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลออกเป็น 2 ส่วน คือ
1.) การวิจัยเอกสาร เป็นการรวบรวมข้อมูลเอกสารจากงานวิจัย วิทยานิพนธ์ หนังสือ
วารสาร บทความ เอกสารราชการที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคม เครือข่ายนโยบาย รวมไปถึงข้อมูล
จากหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดราชบุรี
และจังหวัดน่าน 2.) การวิจัยภาคสนาม (Field research) เป็นวิธีการศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกตามประเด็น
ที่เกี่ยวข้องโดยการสัมภาษณ์ซึ่งผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informant Interview) ได้แก่ คณะท างานที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดราชบุรี และจังหวัดน่าน ทั้ง
หน่วยงานภาครัฐระดับนโยบาย เช่น ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ กรม
ั
พฒนาสังคมและสวัสดิการ รวมไปถึงหน่วยงานภาครัฐระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ส านักงานพฒนาสังคมและ
ั
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และคณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัด
เป็นต้น ซึ่งในการศึกษานี้ผู้วิจัยเลือกตัวอย่างในการศกษา โดยการใช้การสุ่มตัวอย่างแบบไม่ค านึงถึงความน่าจะ
ึ
เป็น ใช้วิธีการสุมตัวอย่างแบบลูกโซ่ (Snowball Sampling) จะเป็นการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แล้วผู้ถูก
ื่
สัมภาษณ์ที่ได้รับการสัมภาษณ์นั้นจะเป็นผู้แนะน าผู้ถูกสัมภาษณ์คนอนๆต่อไปเรื่อยๆจนได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
และเพียงพอ ผู้วิจัยจะน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และอภิปรายผลต่อไป
ข้อจ ำกัดในกำรศึกษำ
ในการศึกษาเครือข่ายนโยบาย กรณีศึกษาเปรียบเทียบศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจ จังหวัดราชบุรี และจังหวัดน่าน จะพบกับข้อจ ากัดในการศึกษา คือ โครงการศูนย์ส่งเสริมความ
ิ่
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ เป็นโครงการที่เพงก่อตั้งในระยะเวลาไม่กี่ปี ท าให้ข้อมูลของโครงการที่ได้
อาจยังไม่เป็นผลส าเร็จ ประกอบข้อจ ากัดของหน่วยงานราชการที่ผู้รับผิดชอบโครงการมีการโอนย้ายหน่วยงาน
ไม่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ของโครงการ ท าให้ผู้รับผิดชอบที่มาแทนอาจไม่ได้เข้าใจบริบทของโคงการที่
ื้
ื่
ชัดเจน และการลงพนที่เพอศึกษาข้อมูลและสัมภาษณ์อาจได้ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนเนื่องจากอาจไม่ได้พบ
ผู้รับผิดชอบโครงการโดยตรง
ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดควำมเกี่ยวกับควำมรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
Word Business Council on Sustainable Development (WBCSD) (2015) ให้ความหมายว่า
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร เป็นความมุ่งหมายขององค์กรต่อการปฏิบัติตามพนธะสัญญาในการ
ั
ด าเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องและมีจริยธรรม เพอสร้างความก้าวหน้าในการพฒนาเศรษฐกิจ
ั
ื่
้
ั
ควบคู่ไปกับการพฒนาคุณภาพชีวิตของพนังงานตลอดจนชุมชนและสังคม (อางใน ศักดิ์ดา ศิริภัทร
โสภณ,2560)
สถาบันไทยพฒน์ ให้ความหมายว่า CSR เป็นค าย่อจากภาษาองกฤษว่า Corporate Social
ั
ั
Responsibility หรือ บรรษัทบริบาล หมายถึง การด าเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร ที่ค านึงถึง
125