Page 128 - thaipaat_Stou_2563
P. 128
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ผลกระทบต่อสังคมทั้งในองค์กรและในระดับใกล้และไกล ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กรหรือทรัพยากร
จากภายนอกองค์กร ในอันที่จะท าให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข
ในช่วงเวลาที่ผ่านมามีงานวิจัยศึกษาจ านวนมากที่ศึกษาเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจ รวมถึงงานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายความร่วมมือ
ื่
ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอนๆ โดยพบว่า งานศึกษาของวรวุฒิ ไชยศร เรื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคมของ
ั
องค์กรธุรกิจกับการพฒนาที่ยั่งยืน : กรณีศึกษาความรับผิดชอบต่อสังคม 6 บริษัท กล่าวว่าในการแสดงความ
รับผิดชอบต่อสังคมนั้น บริษัทต้องด าเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนและดูแลผู้มีส่วนได้เสีย หมายความว่าบริษัทจะต้อง
ไม่เป็นภาระของสังคมและไม่สร้างความเสียหานให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งระบบเศรษฐกิจ สังคม และ
ั
ื่
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งต้องท าให้สังคมเจริญก้าวหน้าด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมเพอการพฒนาที่ยั่งยืนของ
บริษัทและน าไปสู่การพฒนาที่ยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล (Sustainable CSR Model) สอดคล้องกับงาน
ั
ั
ั
ศึกษาของพพฒน์ ยอดพฤติการณ์ และคณะ เรื่อง การพฒนา CSR ในกระบวนการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจ
ิ
ระยะที่ 1 : การศึกษาคุณลักษณะ องค์ประกอบ และเครื่องมือส าหรับการพฒนา เป็นการศึกษาคุณลักษณะ
ั
และองค์ประกอบของ CSR ที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมไทย ที่ให้ข้อเสนอแนะว่า การเสริมสร้างความยั่งยืน
ของธุรกิจอาจไม่ได้เกิดจากการผนวกกิจกรรม CSR เข้ากับกระบวนการภายในธุรกิจ แต่ต้องท าให้กิจกรรมนั้น
กลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการความคิด คิดต้องท าในระดับจิตส านึกของคนในองค์กร ท าให้เป็น
วัฒนธรรมขององค์กร คือเน้นไปที่คนมากกว่ากระบวนการ
แนวคิดกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมองในรูปแบบเครือข่ำย (Network Governance)และกำรบริหำร
ื
กิจกำรบ้ำนเมืองแบบร่วมมือกันหลำยภำคส่วน (collaborative governance)
Stephen Glodsmith and William D. Eggers (2004) ให้ความหมายของเครือข่ายว่า โครงการ
ื่
ริเริ่มต่างๆที่หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ด าริให้มีขึ้นเพอตอบสนองความต้องการสาธารณะ โดยสามารถวัดเป้าหมาย
ของผลงานได้ มีการมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบให้แต่ละหุ้นส่วนการงาน และได้ก าหนดโครงสร้างการไหลของ
สารสนเทศไว้ เป้าหมายบั้นปลายของการทุ่มเทด าเนินงานก็คือเพอสร้างคุณค่าสาธารณะให้เกิดขึ้นสูงสุด เป็น
ื่
คุณค่าที่ยิ่งใหญ่กว่าผลรวมจากคุณค่าของงานที่แต่ละหุ้นส่วนการงานสามารถท าได้ตามล าพังโดยปราศจากการ
ประสานความร่วมมือ
จิรประภา อัครบวร และประยูร อัครบวร (2552) กล่าวถึงการบริหารงานภาครัฐในรูปแบบเครือข่าย
ภาครัฐ เป็นการด าเนินงานของภาครัฐที่สร้างคุณค่าทางสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน โดย
คุณค่าทางสังคมของประชาชนประกอบด้วย การให้บริการ (service) คุณภาพของการบริการ และความ
น่าเชื่อถือของกระบวนการและผลการบริการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันหลายภาคส่วน จึงเป็นหนึ่งในรูปแบบการบริหารกิจการ
บ้านเมืองแนวใหม่ ที่มุ่งเน้นให้เกิดความร่วมมือกันขับเคลื่อนภารกิจของภาครัฐหรือกิจการสาธารณะให้บรรลุ
ั
เป้าหมายในการตอบสนองต่อปัญหาและอานวยประโยชน์สูงสุดแก่สาธารณะ โดยอาศัยกลไกความสัมพนธ์ใน
แนวราบ และมีรูปแบบปฏิสัมพนธ์ซึ่งกันและกันในลักษณะภาคีหุ้นส่วน (Partnership) หรือเครือข่าย
ั
(Network) ครอบคลุมตั้งแต่การร่วมมือกันท างานระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเองรวมไปถึงความร่วมมือ
ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง ซึ่งเป็นการบริหารงานในลักษณะตัดข้ามอาณาเขตพนที่ความ
ื้
ื
รับผิดชอบของหน่วยงาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการสร้างกลไกความร่วมมอระหว่างภาครัฐกับตัวแสดงในภาค
ส่วนอื่น ๆ เช่น องค์กรภาคธุรกิจ และองค์กรภาคประชาสังคม เป็นต้น ในงานศึกษาของศศิธร ทองจันทร์ เรื่อง
ื่
การบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันกับการขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐไทย กรณีศึกษาความร่วมมือเพอ
ิ
แก้ไขปัญหาความยากจนจังหวัดพษณุโลก พบว่า การท างานในลักษณะเครือข่ายเกิดขึ้นจากการประสาน
126