Page 129 - thaipaat_Stou_2563
P. 129
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ั
บทบาทระหว่างทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคประชาชนและชุมชน และภาควิชาการ มีความสัมพนธ์เป็นไปแบบ
ื่
ึ่
เกื้อหนุนพงพาอาศัยกันมีการแลกเปลี่ยนทรัพยากรที่แต่ละฝ่ายมีเพอน าไปสู่การแก้ไขปัญหาที่เป็นเป้าหมาย
ิ
ุ
โดยงานศึกษาของศิริรักษ์ สิงหเสม เรื่อง เครือข่ายนโยบายและการจัดการภัยพบัติจากอทกภัย กรณีศึกษา
เฉพาะจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดชัยภูมิ ให้แนวคิดแบบเครือข่ายนโยบายไว้ว่า เพอให้ตัวแสดงได้รับหน้าที่
ื่
ตามภารกิจที่ก าหนด โดยใช้ทรัพยากรเป็นเงื่อนไขหลักในการก าหนดบทบาทหน้าที่ตัวแสดง ตัวแสดงจะอยู่ใน
เครือข่ายโดยใช้การเจรจาหารือเป็นหัวใจส าคัญในการก าหนดกิจกรรมการพึ่งพาอาศัยกัน ตัวแสดงต้องประสาน
นโยบายกันและมองเป้าหมายและสาระส าคัญของนโยบายแบบองค์รวมน าไปสู่การจัดการเดียวกัน ท าให้ตัวแสดง
ั
รับรู้ปฏิสัมพนธ์ระหว่างกนอยู่ตลอด ตัวแสดงจะเรียนรู้ที่จะปรับบทบาทหน้าที่ของตนเองให้สอดคล้องกบการ
ั
ั
ท างานร่วมกันน าไปสู่เป้าหมายในการจัดการร่วมกัน
จากการศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ยังไม่งานศึกษาใดที่ศึกษาเกี่ยวกับการส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาครัฐ จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจว่า การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจในบริบทของการด าเนินงานโดยหน่วยงานภาครัฐจะเป็นไปในรูปแบบใด มีส่วนช่วยผลักดันการท างาน
ด้าน CSR ของ ภาคธุรกิจอย่างไรจนก่อเกิดการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ
โดยเลือกศึกษาจังหวัดราชบุรี หรือ ศูนย์ CSR@Ratchaburi เพราะเป็นจังหวัดน าร่องและเป็นจังหวัดเดียวที่
ด าเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2558-
ื่
2560) จนสามารถเป็นต้นแบบในการก าหนดรูปแบบและทิศทางการขับเคลื่อนให้แก่จังหวัดอนได้ และ
จังหวัดน่าน เนื่องจากเป็นจังหวัดที่ถูกก าหนดตามนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงการพฒนาสังคมและความ
ั
ุ
มั่นคงของมนุษย์ในเวลาต่อมา ประกอบกับเป็นจังหวัดเล็กๆที่ไม่มการจัดตั้งโรงงานงานอตสาหกรรมขนาดใหญ่
ี
ื้
ในพนที่ โดยในจังหวัดมีเพยง 2 บริษัทที่ด าเนินกิจกรรมการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมในพนที่ จึงมี
ี
ื้
ความน่าสนใจที่ว่าจังหวัดน่านสามารถจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขึ้นได้อย่างไร และมีการ
ด าเนินงานอย่างไร
กำรขับเคลื่อนโครงกำรศูนย์ส่งเสริมควำมรับผิดชอบต่อสังคม
ส าหรับสถานการณ์ของการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจนั้น การแสดงความ
รับผิดชอบต่อสังคมของประเทศไทยส่วนใหญ่มุ่งเน้นในรูปแบบกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ การช่วยเหลือ การ
บริจาค กิจกรรมสังคมตลอดจนเป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับที่สะท้อน
การแสดงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนข้อกีดกันทางการค้าในภาคเอกชนที่จัดอยู่ในกลุ่มธุรกิจ
ิ
ขนาดกลางและขนาดย่อมที่สะท้อนปัจจัยอทธิพลในการด าเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ในมุมมอง
ิ่
ของความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจเป็นการเพมต้นทุนการด าเนินการ แต่ปัจจัยเงื่อนไขทางการค้า
โดยเฉพาะในการส่งออกและการเรียกร้องจากลูกค้าเป็นปัจจัยส าคัญในการขับเคลื่อนความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธุรกิจ และเน้นย้ าความส าคัญของวิสัยทัศน์ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการ ในธุรกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมจะให้ความส าคัญกับมิติของความคุ้มค่าเป็นอนดับแรก ขณะที่บริษัทมหาชนจะสะท้องถึงวิสัยทัศน์หรือกล
ั
ื่
ยุทธ์องค์กรและภาวะผู้น าเป็นอันดับแรก ทั้งนี้การขับเคลื่อนในระดับสากลเพอให้ตอบรับกับนโยบายและแผน
ยุทธศาสตร์ชาติสะท้อนให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจมีความจ าเป็นและต้องท าอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ สะท้อนออกมาในมิติหลัก 2 มิติ คือ มิติที่ 1 องค์กรธุรกิจต้องได้รับการยอมรับจากสังคม การ
ท าความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจที่ถูกจะน ามายังการได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจากสังคม อน
ั
ได้แก่ การพึ่งพาอาศัย เกื้อกูลกันและกัน และมิติที่ 2 ธุรกิจจะมีการเติบโตร่วมกับชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
อย่างยั่งยืน (กรมพฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2562)
ั
ั
จากมาตรฐานและแนวปฏิบัติของสากลมาสู่การก าหนดนโยบายที่สอดรับของภาครัฐ และการบูรณาการความ
127